9/30/2553

ไฮโดรเจน(H)

-ไฮโดรเจนฮีเลียม
-

H

Li
H-TableImage.svg
ทั่วไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข ไฮโดรเจน, H, 1
อนุกรมเคมี อโลหะ
หมู่, คาบ, บล็อก 1, 1, s
ลักษณะ ไม่มีสี
H,1.jpg
มวลอะตอม 1.00794 (7) กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 1s1
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 1
คุณสมบัติทางกายภาพ
สถานะ ก๊าซ
ความหนาแน่น (0 °C, 101.325 kPa)
0.08988 กรัม/ลิตร
จุดหลอมเหลว 14.01 K
(-259.14 °C)
จุดเดือด 20.28 K(-252.87 °C)
Triple point 13.8033 K, 7.042 kPa
ความร้อนของการหลอม เหลว (H2) 0.117 กิโลจูล/โมล
ความร้อนของการกลาย เป็นไอ (H2) 0.904 กิโลจูล/โมล
ความร้อนจำเพาะ (25 °C) (H2)
28.836 J/(mol·K)
ความดันไอ
P/Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T K         15 20
อุณหภูมิวิกฤต 32.19 K
ความดันวิกฤต 1.315 MPa
ความหนาแน่นวิกฤต 30.12 g/L
คุณสมบัติของอะตอม
โครงสร้างผลึก hexagonal
สถานะออกซิเดชัน 1, -1
(แอมโฟเทอริกออกไซด์)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 2.20 (พอลิงสเกล)
พลังงานไอออไนเซชัน ระดับที่ 1: 1312.0 กิโลจูล/โมล
รัศมีอะตอม 25 pm
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 53 pm (รัศมีของบอห์ร)
รัศมีโควาเลนต์ 37 pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 120 pm
อื่น ๆ
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก  ???
การนำความร้อน (300 K) 180.5 mW/(m·K)
ความเร็วเสียง (ก๊าซ, 27 °C) 1310 m/s
เลขทะเบียน CAS 1333-74-0
ไอโซโทปที่น่าสนใจ
บทความหลัก: ไอโซโทปของ ไฮโดรเจน
iso NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
1H 99.985% H เสถียร โดยมี 0 นิวตรอน
2H 0.015% H เสถียร โดยมี 1 นิวตรอน
3H trace 12.32 y β- 0.019 3He

ไฮโดรเจนไฮโดรเจน (อังกฤษ: Hydrogen; ละติน: hydrogenium ไฮโดรเจเนียม) เป็นธาตุลำดับแรกในตารางธาตุ สัญลักษณ์ธาตุ คือ H และมีเลขอะตอม เท่ากับ 1 ที่อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศมาตรฐาน ไฮโดรเจนเป็นก๊าซที่โมเลกุลมี 2 อะตอม ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ติดไฟง่าย เป็นอโลหะ และมีอิเล็กตรอนชั้น นอกสุด (เวเลนซ์อิเล็กตรอน) ตัวเดียว ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุด และมีการปรากฏในจักรวาลมากที่สุด มีอยู่ในโมเลกุลของน้ำ ในสารประกอบอินทรีย์ทุกตัว และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ไฮโดรเจนสามารถมีปฏิกิริยาได้กับธาตุอื่น ๆ ส่วนใหญ่ ดาวฤกษ์ในช่วงหลักประกอบด้วยไฮโดรเจนในสถานะพลาสมาเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ ธาตุนี้ยังใช้ในการผลิตแอมโมเนีย ใช้เป็นก๊าซสำหรับยก ใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทน และเป็นพลังงานของเซลล์เชื้อเพลิง
ในห้องทดลอง ไฮโดรเจนได้มาจากปฏิกิริยาของกรดบนโลหะ เช่น สังกะสี ในการผลิตจำนวนมาก ไฮโดรเจนที่ใช้ในการค้าได้มาจากการย่อยก๊าซธรรมชาติ การแยกน้ำด้วย ไฟฟ้าเป็นวิธีที่ง่ายแต่สิ้นเปลือง ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์กำลังวิจัยเกี่ยวกับวิธีใหม่ ๆ ในการผลิตไฮโดรเจน เช่น การใช้สาหร่ายสีเขียว ส่วนอีกวิธีที่มีความหวังคือ การใช้ผลิตภัณฑ์จากชีวมวล เช่น กลูโคสหรือซอร์บิทอล ซึ่งสามารถทำได้ที่อุณหภูมิต่ำโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาตัวใหม่

ศัพท์ เฉพาะของไฮโดรเจน

  • เป็นชื่อของธาตุชนิดหนึ่ง
  • "H dot" เป็นชื่อเรียกของโมเลกุลชนิดหนึ่งที่พบมากในอวกาศ แต่ไม่พบในโลก
  • โมเลกุล 2 อะตอม ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติบนบรรยากาศโลก ทางเคมีสามารถเขียนได้ H2 เรียกว่า ไดไฮโดรเจน เพื่อประโยชน์ในการแบ่งแยกกับสารอื่น

ประวัติ

ไฮโดรเจนถูกรับรองว่ามีอยู่จริงครั้งแรกโดย[กาลิเลโอ]] ในปี ค.ศ. 1766 คาเฟนดิชค้นพบมันระหว่างทำการทดลองระหว่างกรดกับปรอท แต่เขาสันนิษฐานผิดพลาดว่าไฮโดรเจนนั้นเป็นสารประกอบของปรอท แต่เขาก็ยังสามารถบรรยายคุณสมบัติต่างๆของไฮโดรเจนได้อย่างถูกต้อง ต่อมา [คริสติอาโน่ โรนัลโด้]]ได้ตั้งชื่อให้กับธาตุนี้ว่าไฮโดรเจน และพิสูจน์ว่าไฮโดรเจนและออกซิเจนเป็นส่วนประกอบของน้ำ ไฮโดรเจนถูกใช้ประโยชน์ครั้งแรกในการบรรจุในบอลลูน ไฮโดรเจนสามารถเตรียมได้จากการผสมกรดซัลฟิวริกกับเหล็ก ดิวเทอเรียมซึ่งเป็นไอโซโทปของไฮโดรเจน ถูกค้นพบโดย[มาร์ค ภาณุพงศ์]] (mark panu) โดยการกลั่นน้ำหลายๆครั้ง มาร์คได้รับรางวัลโนเบลจากการค้นพบของเขาในปี ค.ศ. 1934 ในปีเดียวกันนั้น มีการค้นพบทริเทียม ไอโซโทปชนิดที่สามของไฮโดรเจน

การ นำไปใช้ประโยชน์


ตารางธาตุ

ตารางธาตุ


ดีมีตรี เมนเดเยฟ บิดาแห่งตารางธาตุ
ตารางธาตุ (Periodic table) คือ ตารางที่ใช้แสดงรายชื่อธาตุเคมี คิดค้นขึ้นโดยนักเคมีชาวรัสเซีย ดมีตรี เมนเดเลเยฟ (Dmitri Mendeleev) ในปี พ.ศ. 2412[1] จากการสังเกตว่า เมื่อนำธาตุที่รู้จักมาวางเรียงตามลำดับเลขอะตอม จะพบว่าคุณสมบัติพื้นฐานบางอย่างคล้ายกัน สามารถจำแนกเป็นกลุ่มๆ ได้ ทำให้เกิดรูปแบบตารางธาตุ และพัฒนาต่อเนื่องมาจนเป็นอย่างที่เห็น ตารางธาตุเป็นส่วนหนึ่งในการเรียนการสอนวิชาเคมีด้วย

ประวัติ ศาสตร์ของตารางธาตุ

เริ่มต้นจาก จอห์น นิวแลนด์ส ได้พยายามเรียงธาตุตามมวลอะตอม แต่เขากลับทำให้ธาตุที่มีสมบัติต่างกันมาอยู่ในหมู่เดียวกัน นักเคมีส่วนมากจึงไม่ยอมรับตารางธาตุของนิวแลนด์ส ต่อมา ดมีตรี เมนเดเลเยฟ จึงได้พัฒนาโดยพยายามเรียงให้ธาตุที่มีสมบัติเหมือนกันอยู่ในหมู่เดียวกัน และเว้นช่องว่างไว้สำหรับธาตุที่ยังไม่ค้นพบ พร้อมกันนั้นเขายังได้ทำนายสมบัติของธาตุใหม่ไว้ด้วย โดยใช้คำว่า เอคา (Eka) นำหน้าชื่อธาตุที่อยู่ด้านบนของธาตุที่ยังว่างอยู่นั้น เช่น เอคา-อะลูมิเนียม (ต่อมาคือธาตุแกลเลียม) เอคา-ซิลิคอน (ต่อมาคือธาตุเจอร์เมเนียม) แต่นักเคมีบางคนในยุคนั้นยังไม่แน่ใจ เนื่องจากว่าเขาได้สลับที่ธาตุบางธาตุโดยเอาธาตุที่มีมวลอะตอมมากกว่ามาไว้หน้าธาตุที่มีมวลอะตอมน้อยกว่า ดมีตรีได้อธิบายว่า เขาต้องการให้ธาตุที่มีสมบัติเดียวกันอยู่ในหมู่เดียวกัน เมื่อดมีตรีสามารถทำนายสมบัติของธาตุได้อย่างแม่นยำ และตารางธาตุของเขาไม่มีข้อน่าสงสัย ตารางธาตุของดมีตรีก็ได้รับความนิยมจากนักเคมีในสมัยนั้นเป็นต้นมา

[แก้] ตาราง ธาตุแบบมาตรฐาน

หมู่ 1A 2A
3B 4B 5B 6B 7B 8B 8B 8B 1B 2B 3A 4A 5A 6A 7A 8A
คาบ
1 1
H

2
He
2 3
Li
4
Be


5
B
6
C
7
N
8
O
9
F
10
Ne
3 11
Na
12
Mg


13
Al
14
Si
15
P
16
S
17
Cl
18
Ar
4 19
K
20
Ca

21
Sc
22
Ti
23
V
24
Cr
25
Mn
26
Fe
27
Co
28
Ni
29
Cu
30
Zn
31
Ga
32
Ge
33
As
34
Se
35
Br
36
Kr
5 37
Rb
38
Sr

39
Y
40
Zr
41
Nb
42
Mo
43
Tc
44
Ru
45
Rh
46
Pd
47
Ag
48
Cd
49
In
50
Sn
51
Sb
52
Te
53
I
54
Xe
6 55
Cs
56
Ba
* 71
Lu
72
Hf
73
Ta
74
W
75
Re
76
Os
77
Ir
78
Pt
79
Au
80
Hg
81
Tl
82
Pb
83
Bi
84
Po
85
At
86
Rn
7 87
Fr
88
Ra
*
*
103
Lr
104
Rf
105
Db
106
Sg
107
Bh
108
Hs
109
Mt
110
Ds
111
Rg
112
Cn
113
Uut
114
Uuq
115
Uup
116
Uuh
(117)
Uus
118
Uuo

* แลนทาไนด์ 57
La
58
Ce
59
Pr
60
Nd
61
Pm
62
Sm
63
Eu
64
Gd
65
Tb
66
Dy
67
Ho
68
Er
69
Tm
70
Yb
** แอกทิไนด์ 89
Ac
90
Th
91
Pa
92
U
93
Np
94
Pu
95
Am
96
Cm
97
Bk
98
Cf
99
Es
100
Fm
101
Md
102
No
อนุกรมเคมีในตารางธาตุ
โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลนทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะทรานซิชัน
โลหะหลังทรานซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ อโลหะ แฮโลเจน ก๊าซมีตระกูล
รหัสสีสำหรับเลขเชิงอะตอม:
  • ธาตุที่เลขเชิงอะตอมเป็น สีน้ำเงิน เป็นของเหลวที่ STP
  • ธาตุที่เลขเชิงอะตอมเป็น สีเขียว เป็นก๊าซที่ STP
  • ธาตุที่เลขเชิงอะตอมเป็น สีดำ เป็นของแข็งที่ STP
  • ธาตุที่เลขเชิงอะตอมเป็น สีแดง เป็น ธาตุสังเคราะห์ (ทุกธาตุเป็นของแข็งที่ STP)
  • ธาตุที่เลขเชิงอะตอมเป็น สีเทา ยังไม่มีการค้นพบ (ธาตุเหล่านี้ในตารางจะมีสีพื้นจาง ๆ ที่ใกล้เคียงกับสีพื้นของอนุกรมเคมีที่ธาตุดังกล่าวน่าจะเป็นสมาชิก)

ข้อ แนะนำในการจดจำธาตุในตารางธาตุ

  • หมู่ 1A ลิเทียม (Lithium) โซเดียม (Sodium - Natrium) โพแทสเซียม (Potassium - Kalium) รูบิเดียม (Rubidium) ซีเซียม (Cesium) แฟรนเซียม (Francium)
  • หมู่ 2A เบริลเลียม (Beryllium) แมกนีเซียม (Magnesium) แคลเซียม (Calcium) สตรอนเทียม (Strontium) แบเรียม (Barium) เรเดียม (Radium)
  • หมู่ 3A โบรอน (Boron) อะลูมิเนียม (Aluminium) แกลเลียม (Gallium) อินเดียม (Indium) แทลเลียม (Thallium)
  • หมู่ 4A คาร์บอน (Carbon) ซิลิกอน (Silicon) เจอร์เมเนียม (Germanium) ดีบุก (Tin - Stannum) ตะกั่ว (Lead - Plumbum)
  • หมู่ 5A ไนโตรเจน (Nitrogen) ฟอสฟอรัส (Phosphorous) อะซินิค (สารหนู) (Arsenic) พลวง (Antimony - Stibium) บิสมัท (Bismuth)
  • หมู่ 6A ออกซิเจน (Oxygen) ซัลเฟอร์ (กำมะถัน) (Sulfur) ซีลีเนียม (Selenium) เทลลูเรียม (Telllurium) โพโลเนียม (Polonium)
  • หมู่ 7A ฟลูออรีน (Fluorine) คลอรีน (Chlorine) โบรมีน (Bromine) ไอโอดีน (Iodine) แอสทาทีน (Astatine)
  • หมู่ 8A ฮีเลียม (Helium) นีออน (Neon) อาร์กอน (Argon) คริปตอน (Krypton) ซีนอน (Xenon) เรดอน (Radon)
ยกเว้น ไฮโดรเจน เพราะยังถกเถียงกันอยู่ว่าจะจัดลงไปที่หมู่ 1 หรือ 7 ดี เพราะคุณสมบัติเป็นกึ่ง ๆ กัน ระหว่าง 1A กับ 7A และธาตุประเภททรานซิชัน โดยทั่วไป ไม่แนะนำให้จำ แต่อาศัยดูตารางเอา และควรจำคุณสมบัติของธาตุที่สำคัญ ๆ ให้ได้ หรืออาจจะใช้หลักการในการท่องให้ง่ายขึ้น เช่นการใช้ตัวย่อของแต่ละคำมารวมกันเป็นประโยคที่จำง่าย ๆ ซึ่งจะทำให้จำได้ไวขึ้น

หมายเหตุ ชื่อที่เป็นตัวเอียง เป็นชื่อในภาษาละติน ซึ่งเป็นที่มาของสัญลักษณ์ของธาตุนั้นๆ

แหล่ง กำเนิดของธาตุในจักรวาล

  1. ไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดเริ่มแรกในจักรวาลหลังบิกแบง
  2. ธาตุตัวที่ 3 คือลิเทียม ถึงตัวที่ 26 คือ เหล็กเกิดจากภาวะอัดแน่นในดวงดาว
  3. ธาตุตัวที่หนักกว่าเหล็กจนถึงยูเรเนียมเกิดจากดาวระเบิด หรือปรากฏการณ์นิวเคลียร์ฟิวชั่นในดาวฤกษ์ (กรณีหลังจะได้กัมมันตภาพฯ เป็นส่วนมาก)

สมบัติ ของธาตุตามหมู่และคาบ

ปัจจุบันมีการค้นพบธาตุแล้วกว่า 100 ชนิดซึ่งในตารางธาตุปัจจุบันได้บรรจุอะตอมของธาตุต่างๆลงในตารางธาตุตาม สมบัติและเลขอะตอม ทำให้การศึกษาและการจดจำทำได้ง่ายขึ้น สมบัติทางเคมีและฟิสิกส์หลายอย่างของธาตุเป็น พิริออดิกฟังก์ชั่น(periordic frunction)ของเลขอะตอม การจัดเรียงอะตอมของธาตุบางประการมีคุณสมบัติและแนวโน้มตามคาบและหมู่ของ อะตอมและมีการจัดเรียงกันอย่างไร และมีสมบัติใดคล้ายคลึงกันจะได้ศึกษาจากสมบัติของธาตุในตารางธาตุหรือตาราพี ริออดิกในบทเรียนที่ 3 นี้ ตารางธาตุในปัจจุบันที่เราเห็นกันในบทนี้มีการจัดเรียงตัวของอะตอมอย่างไร บ้าง และธาตุใดที่มีสมบัติคล้ายคลึงกันนักเรียนสามารถระบุได้หรือไม่ เมื่อนักเรียนสังเกตในตารางธาตุจะพบว่ามีแถวในแนวตั้งทั้งหมด 18 แถวเราเรียกแถวเหล่านั้นว่า หมู่(Group) และเราเรียกแถวในแนวนอนทั้งหมด 7 แถวว่า คาบ(Period)
3.1 วิวัฒนาการของตารางธาตุและตารางในปัจจุบัน 
นักเคมีเริ่มรู้จักธาตุกันมากขึ้นและมีธาตุถึง 100 กว่าธาตุดังนั้นจึงเป็นการยากแก่การศึกษาและการทำความเข้าใจ ดังนั้นนักเคมีจึงเริ่มหาการจัดเรียงธาตุชนิดต่างให้ง่ายขึ้นเพื่อที่จะ สามารถจดจำและทำให้การทำงานสะดวกยิ่งขึ้น ในปี พ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869) นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย ชื่อเมนเดเลเอฟ(D.I. Mendeleev) ได้ศึกษาและพบว่าเมื่อนำธาตุต่างมากเรียงตามเลขอะตอมจะพบว่ามีสมบัติทางเคมี และฟิสิกส์คล้ายคลึงกัน และจะปรากฏอยู่เป็นช่วงๆ จึงได้ตั้งเป็นกฎพีริออดิก(Periodic Law)มีใจความว่า“สมบัติของธาตุจะปรากฎเป็นช่วงๆตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้นตาม เลขอะตอมของธาตุ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 (ค.ศ.1913)โมสลีย์(H.G.J. Moseley) พบว่าการจัดเรียงของอะตอมจะมีความสัมพันธ์กับการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ของธาตุนั้นๆ ดังนั้นในปัจจุบันกฏพีริออดิกจึงกล่าวได้ดังนี้“สมบัติต่างๆของธาตุเป็นพีริ ออดิกฟังก์ชั่นของเลขอะตอม และขึ้นอยู่กับการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในธาตุเหล่านั้น” ดังนั้นจึงสามารถใช้กฏต่างๆเหล่านี้จัดเรียงธาตุต่างๆตามเลขอะตอมเป็นตาราง พีริออดิก(periodic table) ซึ่งเป็นเครื่องช่วยในการจดจำของนักเคมีได้ดียิ่งขึ้นและทำให้ทำนายเกี่ยว กับธาตุต่างๆได้แม่นยำ ธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันจะมีการจัดเรียงเวเลนซ์อิเล็กตรอนเหมือนกัน ดังนั้นธาตุในหมู่เดียวกันจึงมีสมบัติคล้ายกันมากเช่น ออกซิเจนและกำมะถันมี 6 เวนเลนซ์อิเล็กตรอน เท่ากัน และดูตามคาบของแต่ละคาบจะพบว่ามีการจัดเรียงอิเล็กตรอนตามระดับพลังงานเช่น โพแทสเซียมกับคริปตอนอยู่ในระดับพลังงานที่ 4 เช่นเดียวกัน
3.2 สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ 
3.2.1ขนาดอะตอม
โดยทั่วไปธาตุไม่ได้อยู่โดดเดี่ยวตามธรรมชาติ โดยมักจะอยู่ในรูปของสารประกอบดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงศึกษาเรื่องขนาด อะตอมได้จากการทดลองมี รัศมีชนิดต่างๆดังนี้ รัศมีโคเวเลนต์ คือระยะครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะโคเวเลนต์ ซึ่งเกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน รัศมีแวนเดอร์วาลส์ คือระยะทางครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างนิวเคลียสของอะตอมที่อยู่ใกล้ที่สุด รัศมีโลหะ คือระยะครึ่งหนึ่งระหว่างนิวเคลียสของอะตอมโลหะที่อยู่ใกล้กันมากที่สุด
ตัวอย่างที่ 3.1 จงหารัศมีอะตอมของ Cl และ I เมื่อกำหนดให้ Cl-Cl ยาว 198 pm และ ความยาวพันธะ I-I ยาว 266 pm ความยาวพันธะ Cl-Cl ยาว 198 pm รัศมีมีความยาวเป็น ความยาวพันธะ I-I ยาว 266 pm รัศมีมีความยาวเป็น ตอบ รัศมี Cl มีความยาว 99 pm และรัศมี I มีความยาว 133pm ตัวอย่างที่ 3.2 จงคำนวณหารัศมีของธาตุ A กำหนดให้ ความยาวพันธะ A-B=  pm
ความยาวพันธะ  B-B = pm
รัศมีของอะตอม B เท่ากับ = pm ความยาวพันธะของ A-B = รัศมีของ A+รัศมีของB  = รัศมีของ A+ ตอบ รัศมีของ A = -
จากการศึกษาเรื่องขนาดอะตอมเราสามารถบอกแนวโน้มขนาดของอะตอมตามหมู่และ คาบได้โดยแนวโน้มตามหมู่จากบนลงล่างขนาดของอะตอมจะมีขนาดเพิ่มขึ้นจากเล็กไป ใหญ่ เนื่องจากระดับพลังงานในอะตอมที่มีขนาดเล็กจะมีแรงดึงดูดของโปรตอนใน นิวเคลียสต่อเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาก แต่ถ้าระดับพลังงานเพิ่มขึ้นแรงดึงดูดจะเริ่มน้อยลงตามระดับพลังงานทำให้ ขนาดของอะตอมมีขนาดเพิ่มขึ้นตามแรงดึงดูดที่น้อย ส่วนแนวโน้มตามคาบ ขนาดอะตอมจะเล็กลงจากซ้ายไปขวา ขณะที่เลขอะตอมเพิ่มขึ้นเนื่องจากว่า ในคาบเดียวกันเวเลนซ์อิเล็กตรอนจะอยู่ในระดับพลังงานเดียวกัน แต่จำนวนโปรตอนที่อยู่ในนิวเคลียสของแต่ละอะตอมต่างกัน เป็นผลให้จำนวนโปรตอนที่มีมาก ดึงดูดเวเลนซ์อิเล็กตรอนเข้าหาสูง เวเลนซ์อิเล็กตรอนเข้าใกล้นิวเคลียสมาก อะตอมจึงมีขนาดเล็กลง
ตัวอย่างที่ 3. 3 จงอธิบายว่าเหตุใดลิเทียมกับฟลูออรีนซึ่งมีโปรตอนเป็น 3 และ 9 ตามลำดับจึงมีขนาดอะตอมต่างกันทั้งที่อยู่ในระดับพลังงานที่ 2 เท่ากัน ตอบ ลิเทียมมีจำนวนโปรตอนน้อยกว่าฟลูออรีนทำให้โปรตอน(H+) ดึงดูดเวเลนซ์อิเล็กตรอนของฟลูออรีนมากกว่าลิเทียมทำให้ขนาดอะตอมของ ฟลูออรีนเล็กกว่าลิเทียมเป็นผลให้ขนาดอะตอมต่างกันนั่นเอง
ตัวอย่างที่ 3.4 จงเรียงลำดับขนาดอะตอมของธาตุ Rb Li และ Na จากเล็กไปใหญ่ตามลำดับ พร้อมอธิบายเหตุผลที่เรียงเช่นนั้น ตอบ LiNa+>Mg 2+ ดังนั้นข้อสรุปของการวิเคราะห์ดังกล่าวคือ อะตอมหรือไอออน ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน จะมีขนาดเล็กลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
ต่อมาอะตอมของอโลหะซึ่งส่วนใหญ่มักจะรับอิเล็กตรอนเข้ามาทำให้เกิด เป็นไอออนลบขึ้น แต่จำนวนโปรตอนไม่เปลี่ยนแปลง ทำให้แรงผลักระหว่างกลุ่มหมอกเพิ่มขึ้นเกิดเป็นขนาดไอออนที่มีลักษณะใหญ่ กว่าอะตอมเดิม ตัวอย่างที่ 3.5 จงเรียงลำดับขนาดไอออนและอะตอมของธาตุต่อไปนี้ จากใหญ่ไปเล็ก 3Li+ 8O2- 9F- 13A3+ 19K+ 20Ca2+ 35Br- วิธีทำ เขียนลำดับการจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วพิจารณาขนาดของอะตอมและจำนวนโปรตอนใน นิวเคลียส ได้ผลดังนี้ 3Li+ 1s2 8O2- 1s2 2s2 2p6
9F-   1s2  2s2 2p6 
13A3+ 1s2 2s2 2p6 19K+ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 20Ca2+ 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 35Br- 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d10 4p5 ดังนั้นเรียงขนาดไอออนได้ดังนี้ 35Br- >19K+ >20Ca2+> 8O2- > 9F- > 13A3+ >3Li+ ตอบ Br- >K+ >Ca2+> O2- > F- > A3+ >Li+ 3.2.3พลังงานไอออไนเซชัน ในการที่จะทำให้อิเล็กตรอนตัวแรกของอะตอม ถูกดึงออกมาจากอะตอมในสถานะแก๊สโดยใช้ปริมาณพลังงานอย่างน้อยที่สุดเรียกว่า พลังงานไอออนไนเซชัน(Ionization energy) ใช้สัญลักษณ์ IE และแทนหน่วยเป็น kJ/mol หรือ kcal/mol เช่น H(g) H+(g)+e- IE= 1318 kJ/mol ในการทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากแก๊สเกิดเป็นไอออนที่มีประจุบวกหรือไอออนที่ มีประจุบวกเพิ่มขึ้น เนื่องจากกระบวนการนี้จะเกิดได้จะต้องให้พลังงานเข้าไป ดังนั้นพลังงานไอออไนเซชันจึงมีค่าบวกเสมอ และในแต่ละอะตอมก็จะมีอิเล็กตรอนแตกต่างกันออกไปตามจำนวนเลขอะตอมเราเรียก พลังงานน้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนตัวแรกหลุดออกจากอะตอมในสถานะแก๊สว่า พลังงานไอออนไนเซชันลำดับที่หนึ่ง( first ionization energy : IE1) และพลังงานลำดับต่อๆไปที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมในสถานะแก๊ส เรียกว่าพลังงานไอออนไนเซชันลำดับที่สอง,สาม,สี่,......เขียนย่อเป็นIE2, IE3, IE4,…… เช่นอะตอมของลิเทียมมี 3 อิเล็กตรอนจึงมีค่าพลังงานไอออนไนเซชัน 3 ค่า เขียนแสดงได้ดังนี้ Li(g) Li+(g)+e- ; IE1= +526 kJ/mol Li+(g) Li2+(g)+e- ; IE2= +7,305 kJ/mol Li2+(g) Li3+(g)+e- ; IE3= +11,822 kJ/mol
จากกราฟดังกล่าว และซึ่งเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานไอออไนเซชันและลำดับที่ ของพลังงานได้ข้อสรุปที่ว่าอิเล็กตรอนอยู่กันเป็นกลุ่ม โดยอิเล็กตรอนที่อยู่กลุ่มเดียวกันจะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันใกล้เคียงกัน ส่วนอิเล็กตรอนที่อยู่ต่างกลุ่มกันจะมีค่าพลังงานแตกต่างกันอย่างชัดเจน เป็นผลให้กราฟที่มีจุดเชื่อมต่อกันที่มีค่าพลังงานอยู่ต่างกลุ่มมีความชัน สูง แสดงว่าอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานต่างๆของอะตอม และกลุ่มอิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสจะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงเนื่อง จากเจอแรงดึงดูดระหว่างประจุมาก ส่วนกลุ่มอิเล็กตรอนที่อยู่ไกลออกไปจะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่ำเนื่องจาก เจอแรงดึงดูดระหว่างประจุน้อย ในการจัดกลุ่มของอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ ด้วยการนำลำดับที่ของค่าพลังงานไปหารกับค่าของพลังงานไอออไนเซชันของลำดับ นั้นๆ ผลลัพธ์ที่ได้จะมีค่าใกล้เคียงกันมากสำหรับกลุ่มอิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับ พลังงานเดียวกันและจะต่างกันอย่างชัดเจนสำหรับอิเล็กตรอนที่อยู่ต่างกลุ่ม กัน ลักษณะบางประการที่สำคัญของพลังงานไอออไนเซชันยังมีอีกดังนี้ ค่าพลังงานไอออไนเซชันลำดับเดียวกันของธาตุแต่ละชนิดจะมีค่าไม่เท่ากัน เนื่องจากแรงดึงดูดต่างกัน และในแต่ละธาตุค่าพลังงานในแต่ละลำดับก็มีค่าแตกต่างกันเช่นกัน

จากการศึกษาและคำถามดังกล่าวได้ข้อสรุปว่า ค่าพลังงานไอออนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุในคาบเดียวกันจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามเลขอะตอมเนื่องจากธาตุใน คาบเดียวกัน เมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น จะมีจำนวนโปรตอนมากขึ้นขนาดอะตอมเล็กลง เกิดแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสในอะตอมและอิเล็กตรอนทำให้ใช้พลังงานมากในการ ดึงอิเล็กตรอนออก ส่วนค่าพลังงานไอออนเซชันลำดับที่ 1 ของธาตุในหมู่เดียวกันจะมีแนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากธาตุที่มีเลขอะตอมมาก เวเลนซ์อิเล็กตรอนอยู่ไกลทำให้มีแรงดึงดูดระหว่างประจุน้อยลงตามลำดับ จึงทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมได้ง่ายตามจำนวนเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้น


ในการเทียบค่า IE ของอะตอมและไอออนนั้นสามารถใช้หลักเกณฑ์ดังกล่าวต่อไปนี้ 1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนจะพบว่าธาตุหรือไอออนมีระดับพลังงานไม่เท่ากัน ธาตุหรือไอออนที่มีระดับพลังงานสูงจะมีค่า IE ต่ำ 2.จากข้อ 1 ถ้าธาตุหรือไอออนอยู่ในระดับพลังงานเดียวกันให้พิจารณาจาก เลขอะตอมถ้าหากมีเลขอะตอมมากค่า IE จะมากตามเลขอะตอม 3. เมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วพบว่ามีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากันและระดับพลังงาน เท่ากัน ให้พิจารณาเวเลนซ์อิเล็กตรอน ถ้าหากมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากจะมีค่า IE น้อย ตัวอย่างที่ 3.6 จงเขียมสมการแสดงค่า IE9 ของธาตุ Cl ตอบ Cl8+(g) Cl9+(g)+e- ตัวอย่างที่ 3.7 กำหนดค่าพลังงานไอออนไนเซชัน(MJ mol-1)ของธาตุ A ดังนี้ a ,b ,c , dและ จงตอบคำถามต่อไปนี้ ก. จงหาจำนวนอิเล็กตรอนและเลขอะตอมของธาตุ A ข. เลขควอนตัมของธาตุ A คืออะไร ค. จำแนกอิเล็กตรอนของธาตุ Aได้กี่กลุ่ม ก. มี5 อิเล็กตรอนและ 5 โปรตอน=เลขอะตอม ข. เนื่องจากธาตุ A มี 5 อิเล็กตรอนดังนั้นการจัดเรียงอิเล็กตรอนจึงเป็นไปตามระดับพลังงานคือ 2 , 3 ดังนั้นเลขควอนตัมของธาตุ A คือ 2 ค. จำแนกได้ 2 กลุ่มคือกลุ่มที่ 1 อยู่ในระดับพลังงานที่ 1ซึ่งมี 2 อิเล็กตรอนและกลุ่มที่ 2 อยู่ในระดับพลังงานที่ 2ซึ่งมี 3 อิเล็กตรอน ตัวอย่างที่ 3.8 จากตารางดังกล่าวธาตุชนิดนี้มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าไร และมีกี่ระดับพลังงาน

ตอบ ธาตุดังกล่าวมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 และอยู่ในคาบที่3
นักเรียนจะสังเกตได้ว่าธาตุในหมู่ของแก๊สเฉื่อยมีค่าพลังงานไอออไนเซ ชันค่อนข้างสูงเนื่องจากการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในหมู่นี้มีความเสถียร สูงกล่าวคือบรรจุอิเล็กตรอนเต็ม 8 ตัวนั่นเอง
  โจทย์ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นโจทย์จากการแข่งขันเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ ครั้งที่ 35 ณ ประเทศกรีซ ประจำปี พ.ศ. 2546
ตัวอย่างที่ 3.9 ธาตุใดต่อไปนี้มีค่าพลังงานไอออไนเซชันขั้นที่ 3 สูงสุด 1. B 2. C 3. N 4. Mg ตอบ ข้อที่ 4 Mg
ตัวอย่างที่ 3.10 ธาตุใดในแถวที่ 2 ของตารางธาตุ มีค่าพลังงานไอออไนเซชัน(IE,eV) 6 ขั้นแรกเป็นไปตามตารางที่กำหนดให้
  IE1 IE2 IE3 IE4 IE5 IE6
11 24 48 64 392 490 1. B 2. C 3. N 4. O ตอบ ข้อที่ 2 C
3.2.4 อิเล็กโทรเนกาติวิตี อิเล็กโทรเนกาติวิตี(Electronegativity:EN) 
คือความสามารถของอะตอมในการดึง ดูดอิเล็กตรอนในโมเลกุลของสาร อะตอมของธาตุแต่ละชนิดมีความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนได้มากน้อยแตกต่าง กัน นิวเคลียสของอะตอมทั้ง 2 เกิดการดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะต่างกัน ทำให้อะตอมที่ดึงดูดอิเล็กตรอนได้ดีกว่าเกิดสภาพทางอำนาจไฟฟ้าค่อนข้างเป็น ลบ ส่วนอะตอมที่ดึงดูดอิเล็กตรอนได้น้อยกว่า จะแสดงอำนาจทางไฟฟ้าค่อนข้างเป็นบวก จากข้อมูลในหนังสือเรียนได้ข้อสรุปเรื่องนี้ว่าค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของ ธาตุในคาบเดียวกันมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีเพิ่มขึ้นเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากขนาดของอะตอมเล็กลง และค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในหมู่เดียวกันส่วนใหญ่มีค่าอิเล็กโทรเนกา ติวิตีลดลงเมื่อเลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากขนาดของอะตอมใหญ่ขึ้น คำอธิบายเพิ่มเติมสำหรับเรื่องของอะตอม นั่นก็คืออะตอมของธาตุบน ขวา ของตารางธาตุจะเล็กและมีคุณสมบัติเป็นอโลหะจึงดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะ สูง จึงมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมาก ส่วนอะตอมด้านล่าง ซ้าย ของตารางธาตุ จะใหญ่และเป็นโลหะ จึงดึงดูดอิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะน้อย จึงมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ อิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุในตารางธาตุ เพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา(คาบ) และล่างขึ้นบน(หมู่) ในตารางธาตุ ตัวอย่างที่ 3.11 จงเรียงลำดับค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุ Cs Rb Zr Fe Cl และ F จากมากไปน้อย วิธีคิด จากแผนภาพด้านซ้ายมือตามลูกศร ที่ชี้ตามแนวลูกศรทำให้ได้ข้อสรุปว่าค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีจะมีค่าในแนว ทแยงมุมดังนั้นอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงที่สุดนั่นก็คือ F ตามด้วย Cl Fe Zr Rb Cs ตอบ F>Cl>Fe>Zr>Rb>Cs ตัวอย่างที่ 3.12 จงเรียงลำดับค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของธาตุ P As และ Bi จากน้อยไปมาก วิธีคิด เนื่องจากธาตุทั้ง 3 อยู่ในหมู่เดียวกันดังนั้นค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีจึงมีค่าลดลงตามระดับ พลังงานที่เป็นขึ้นเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนได้ดังนี้ P  2 8 5 As  2 8 18 5 Bi  2 8 18 32 18 5 ดังนั้นค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีจึงเรียงลำดับจากน้อยไปมากดังนี้ Bi>As>P ตอบ Bi>As>P ตัวอย่างที่ 3.13 ธาตุใดต่อไปนี้มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีมากที่สุด (กำหนดเลขอะตอม: Li=3,Be=4,B=5,C=6) 1. Li 2. Be 3. B 4.C ตอบ C
3.2.5 สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน
เมื่ออะตอมที่เป็นกลางในสถานะแก๊สรวมตัวกับหนึ่งอิเล็กตรอน แล้วเกิดเป็นไอออนลบในสถานะแก๊สจะคายพลังงานออกมาจำนวนหนึ่งเรียกว่า สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน(Electron Affinity;EA) หรือค่าที่ได้จากผลต่างของพลังงานในสมการต่อไปนี้ X(g)+e- X-(g) E=EA เมื่อ X(g) เป็นอะตอมของธาตุในสถานะแก๊ส ค่าพลังงานอันนี้จะบอกความสามารถในการยึดอิเล็กตรอนของอะตอม EA เป็นค่าพลังงานปริมาณติดลบถ้าเป็นลบมากหมายความว่าจะคายพลังงานออกมามากและ ถ้าเป็นลบน้อยหมายความว่าจะคายพลังงานออกมาน้อย ในการให้อิเล็กตรอนเพิ่มเข้าไป 1 ตัวในอะตอมในสถานะแก๊สจะเกิดเป็นไอออนลบและเมื่อเพิ่มอิเล็กตรอนเข้าไปอีก 1 ตัวก็จะเกิดประจุมากขึ้นเช่น O(g)+e- O-(g) ;EA1=-141 kJ/mol O-(g)+e- O2-(g) ;EA2=+744 kJ/mol การเพิ่มอิเล็กตรอนเข้าไปใน O- พบว่าค่า EA2 มีปริมาณเป็นบวก เนื่องจากอิเล็กตรอนเข้าใกล้ที่ประจุ -1 ได้ยากและเกิดแรงผลักระหว่างกันดังนั้นจึงต้องดูดพลังงานเข้าไปเพื่อให้ เกิดเป็น O2- อยู่ได้ เป็นการยากในการที่จะวัดค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนในคาบและหมู่ซึ่งสามารถวัด ได้เพียงธาตุบางชนิดดังตารางต่อไปนี้ 1A 2A 3A 4A 5A 6A 7A 8A H He -72.8 21 Li Be B C N O F Ne -59.6 241 -26.7 -122 0 -141 -328 29 Na Mg Al Si P S Cl Ar -52.9 230 -42.5 -13.4 -72 -200 -349 34 K Ca Ga Ge As Se Br Kr -48.4 156 -28.9 -119 -78.2 -195 -352 39 Rb Sr In Sn Sb Te I Xe -46.9 167 -28.9 -107 -103 -190 -295 40 Cs Ba Tl Pb Bi Po At Rn -45.5 52 -19.3 -35.1 -91.3 -183 -270 41
จากตารางดังกล่าวถ้าค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนมีค่าเป็นลบมากแสดงว่า อะตอมนั้นจะรับอิเล็กตรอนได้ดี คายพลังงานออกมามาก ส่วนอะตอมที่รับอิเล็กตรอนได้ยากจะมีค่าสัมพรรคภาคอิเล็กตรอนเป็นบวกหรือลบ น้อยๆ ความสัมพันธ์ของสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนกับสมบัติอื่นๆสรุปได้ดังนี้ 1. ขนาดอะตอม โดยอะตอมที่มีขนาดเล็ก จะมีค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนเป็นติดลบมากเพราะอะตอมที่มีขนาดเล็ก อิเล็กตรอนที่เพิ่มเข้าใกล้นิวเคลียสของอะตอมจะมีแรงดึงดูดมาก 2. การเติมอิเล็กตรอนเข้าไปในระดับพลังงานย่อยต่อจากระดับพลังงานย่อยนอกสุดที่ มีอิเล็กตรอนเต็ม จะพบว่ามีคู่สัมพรรคภาพ อิเล็กตรอนเป็นบวก(ดูดพลังงาน) 3. ธาตุในคาบเดียวกัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของธาตุหมู่ 1A 2A และ 3A มีค่าเป็นลบน้อยโดยมีค่าน้อยกว่าที่อยู่ทางขวา แสดงว่าธาตุเหล่านั้นรับอิเล็กตรอนได้ยาก โดยเฉพาะธาตุหมู่ 7A มักจะรับอิเล็กตรอนได้สูงสุด คือ เมื่อรับอิเล็กตรอนได้ 8 ตัวแล้วจะมีการจัดตัวเหมือนแก๊สเฉื่อยซึ่งจะเกิดความเสถียรมาก ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน จึงมีค่ามาก 4. แนวโน้มของค่า EA จะมีค่าแนวโน้มเหมือนกับค่า EN
3.2.6 จุดหลอมเหลวและจุดเดือด  
ในการรวมตัวกันของโมเลกุลของสารต่างๆจะต้องมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของ โมเลกุลต่างๆให้สามารถเกิดเป็นสารต่างๆได้ ถ้าหากโมเลกุลของสารประกอบใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมากจะทำให้มีจุด เดือดและจุดหลอมเหลวมาก เนื่องจากใช้แรงในการสลายแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมาก ธาตุอโลหะ มีแรงยึดเหนี่ยวกันเป็นแรงลอนดอนประเภทแวนเดอวาลส์ ซึ่งขึ้นอยู่กับมวลโมเลกุลและขนาดโมเลกุล ถ้าธาตุอโลหะใดมีมวลโมเลกุลสูง จะทำให้มีแรงยึดเหนี่ยวสูงเช่นกันทำให้ธาตุนั้นมีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ในทางตรงกันข้ามธาตุอโลหะใดมีมวลโมเลกุลต่ำ มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยทำให้ธาตุอโลหะนั้นมีจุดเดือดและจุดหลอม เหลวต่ำ ส่วนธาตุโลหะ มีแรงดึงดูดระหว่างอะตอมเป็น พันธะโลหะ ซึ่งพันธะนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดอะตอม โดยอะตอมที่มีขนาดใหญ่มีแรงพันธะต่ำทำให้อะตอมที่มีขนาดเล็กมีแรงสูงกว่า แต่ความแรงของพันธะโลหะซึ่งอยู่ในระดับพลังงานเดียวกันจะขึ้นอยู่กับจำนวน เวเลนซ์อิเล็กตรอน โดยที่อะตอมที่มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนมากจะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างพันธะมากกว่า ดังนั้นธาตุโลหะใดที่มีแรงพันธะโลหะสูงจะทำให้มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง ในทางตรงกันข้ามอะตอมโลหะใดที่มีแรงพันธะโลหะต่ำก็จะมีจุดหลอมเหลวและจุด เดือดต่ำเช่นกัน
เราแสดงความสัมพันธ์ของจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของธาตุโลหะและอโลหะ ได้ดังนี้ 1.โลหะที่อยู่ในหมู่เดียวกันในหมู่(1A-3A)จะมีแนวโน้มของค่าจุดหลอมเหลวและ จุดเดือดลดลงจากบนลงล่าง ขณะที่เลขอะตอมเพิ่มขึ้น เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวของพันธะโลหะลดลง 2. โลหะที่อยู่ในคาบเดียวกัน จะมีจุดหลอมเหลวจะจุดเดือดเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวา เนื่องจากเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพิ่มขึ้นตามคาบ ขนาดอะตอมเล็กลงพันธะโลหะมีความแข็งแรงมากขึ้น 3. อโลหะที่อยู่ในหมู่เดียวกันตั้งแต่ 4A – 8A โมเลกุลขอลอโลหะยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงเวนเดอวาลส์ ขึ้นจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง เนื่องจากเลขอะตอมและขนาดอะตอมเพิ่มขึ้น 4. อโลหะที่อยู่ในคาบเดียวกันจะมีแนวโน้มลดลงจากซ้ายไปขวาเพราะขนาดอะตอมเล็กลง
12.2.7 เลขออกซิเดชัน เลขออกซิเดชัน(Oxidation Numbers ;ON) คือตัวเลขที่แสดงค่าประจุไฟฟ้าหรือประจุไฟฟ้าสมมติของอะตอมหรือไอออนของธาตุ มีเกณฑ์การกำหนดค่าดังนี้ 1. ธาตุอิสระทุกชนิดจะมีค่าเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์ 2. ไอออนของธาตุ มีเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุของไอออนนั้น 3. ไอออนทีเป็นสารประกอบ มีอะตอมมากกว่า 1 ชนิดผลรวมของเลขออกซิเดชันทุกอะตอมมีค่าเท่ากับประจุของไอออนั้น 4. สารประกอบใดๆจะมีเลขออกซิเดชันเท่ากับศูนย์ แต่ในบางกรณีอะตอมของธาตุต่างๆบางชนิดอาจจะมีเลขออกซิเดชันต่างกัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบ พิจารณาเลขออกซิเดชันดังนี้ ในสารประกอบทั่วๆไปมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -2 ในสารประกอบ เปอร์ออกไซด์มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -1 ในสารประกอบซูปเปอร์ออกไซด์มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ ในสารประกอบ OF2 มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ +2 6. ธาตุไฮโดรเจนในสารประกอบทั่วไปมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ +1 ยกเว้นในสารประกอบโลหะไฮไดรด์มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -1 ตัวอย่างที่ 3.14 จงหาค่าเลขออกซิเดชันของ ธาตุ ทรานซิชันในไอออนเชิงซ้อนต่อไปนี้ [Fe(CN)5SCN]4- วิธีทำ SCN- มีประจุ -1 ส่วน CN- มีประจุ -1 ดังนั้น (CN)5 จึงมีประจุ 5(-1)=-5 เขียนเป็นสมการได้ดังนี้ w+(-5)+(-1)= -4 ดังนั้นค่า w ในสมการจะมีค่าเท่ากับ w = -4+6 = +2 ตอบ ค่าของFeในไอออนเชิงซ้อน[Fe(CN)5SCN]4-มีค่าเท่ากับ+2 

9/29/2553

history laos.

History of Laos
The Lao state dates only from 1945. The idea of a separate Lao nationality was
formed during the 19th century, when western ideas of national identity reached
South-East Asia, and when the Lao-speaking peoples were being squeezed between
two expansionist powers, Siam (Thailand) and Vietnam. The current borders of Laos
were created by France in 1893 and 1904. Today the official history of Laos is traced
back to the Kingdom of Lān Xāng, which was founded in 1353. But in reality the Lao
share a common history with the Siamese and other people of the Tai language group,
and Lān Xāng was only one of a number of Tai kingdoms in a region which had a
broad linguistic and cultural unity before the arrival of outside powers.
 
Early history
The Tai (also spelled Dai) are a linguistic group originating in southern China, which
includes the Lao, the Siamese, the people of the Shan region of north-eastern Burma,
the Zhuang people of Guangxi Province in China and the Tho and Nung people of
northern Vietnam. Under pressure from the expansion of the Han Chinese, the Tai
began to migrate into South-East Asia during the first millennium AD. They displaced
earlier peoples (including the iron age culture who made the great stone jars from
which the Plain of Jars in central Laos takes its name). The Mekong River, which
flows through what is now Laos, was a major migration route, but the strength of the
Khmer Empire (Cambodia) prevented the Tai from dominating the Mekong Valley.
Instead the main area of Tai settlement was further south in the Chao Phraya Valley,
where they formed a series of kingdoms ancestral to modern Siam and Thailand.
During the first millennium AD the Tai peoples were loosely organised in small
entities known as muang or mandalas. They were heavily influenced by the more
advanced cultures around them: the Khmer to the south-east, and the Hindu cultures
of India to the west. Most of the Tai were converted to a form of Hinduism, traces of
which can still be seen in Lao religious practice today. Between the 6th and 9th
centuries AD Buddhism was introduced into the Tai-speaking lands, probably via
Burma, and became the dominant religion. But the Lao retain many animist religious
practices from the pre-Buddhist era.
As the Tai peoples became established, they divided into a number of linguistic subgroups.
These included the Tai-Lao, who during the 11th and 12th centuries AD
spread along the middle Mekong Valley and across the Khōrāt Plateau (now the Isan

region of north-eastern Thailand). Their advance down the Mekong was blocked at
Champāsak by the Khmers, who built the great temple at Wat Phū. The Lao in turn
divided into further groups, based on where they lived in relation to the river. These
were the Lao-Lum (Lao of the valley floor), the Lao-Thoeng (Lao of the mountain
slopes) and the Lao-Sūng (Lao of the mountain tops). This latter group included
various linguistic minorities only distantly related to the Tai. The Lao-Lum, having
the best farming land and the best access to river transport, became the wealthiest of
the Tai-Lao peoples. These divisions have haunted Lao history and still exist today,
with many Lao-Thoeng and Lao-Sūng people having only a tenuous loyalty to a Lao-
Lum dominated state.                                                            
The rise and fall of various early Lao states is now recorded only in myth. The earliest
historically identifiable Lao leader is Khun Lô, who probably conquered the Luang
Phrabāng area from non-Tai people in the 12th century. Because the Mekong is
divided into three distinct navigable sections by rapids, between Luang Phrabāng and
Viang Chan (Vientiane) and between Viang Chan and Savannakhēt, these three towns
became the centres of three distinct Lao-Lum mandalas. This pattern was disrupted
by the Mongol invasion of 1253, when part of Kublai Khan's army advanced down
the Mekong to attack the Khmers. In the wake of the Mongol withdrawal a new
kingdom were founded by the Siamese at Sukhothai, which was later succeeded by a
more powerful Siamese state with its capital at Ayutthaya (founded in 1351). The
kingdom of Lān Nā, based at Chiang Mai and containing both Siamese and Lao
elements, was also founded at this time.
In response, the Tai-Lao rulers of Luang Phrabāng (which was then called Xiang
Dong Xiang Thong) formed a new state which, while still nominally subject to the
Mongol rulers of China, became the leading force among the Lao peoples. From
about 1271 this state was ruled by a dynasty called the Phrayā. In about 1350 a prince
of this dynasty, Fā Ngum, fled the court with his father after a dispute and sought
refuge with the Khmers at Angkor, where he married a royal princess. In 1353 he
returned at the head of an army (presumably with Khmer aid), captured Xiang Dong
Xiang Thong and founded a new Lao state which covered the whole Lao-speaking
Mekong valley. This was Lān Xāng, the Kingdom of a Million Elephants.
The Kingdom of Lān Xāng
    Over the next decade Fā Ngum sought to bring all the Lao under his authority. He
conquered most of the Khōrāt Plateau, as well as territory in what is now northwestern
Vietnam. The Khmer court considered him to be a Khmer vassal, but he
succeeded in establishing Lao rule over Champāsak and perhaps as far south as Stung
Treng in what is now northern Cambodia. His wife is credited with introducing
Theravada Buddhism, which had been brought to Siam by missionaries from Sri
Lanka in the 13th century, and from there spread to the Khmer Empire. In 1368,
however, Fā Ngum's wife died, and shortly after the Mongol dynasty in China was
overthrown. These events broke two key relationships sustaining Fā Ngum's power,
and in 1373 he was overthrown as a result of a court intrigue and replaced by his son
Unheuan, who took the name Sāmsaentai ("Lord of 300,000 Tai").
Lān Xāng was not a state in the modern sense of the word. The king at Xiang Dong
Xiang Thong directly ruled and taxed only the town and surrounding area. The lords

of the constituent mandalas raised their own taxes and ruled as they saw fit. Their
duties to the king were to pay an agreed tribute, attend the court for major ceremonies,
and raise their local forces to support the king when he waged war. Thus Lān Xāng
was a loose feudal federation rather than a centralised kingdom. This gave it great
flexibility, but also meant that its coherence depended on the personal and religious
authority of the king. For half a century after Sāmsaentai's death in 1416 there was a
series of weak kings, and the prestige of Lān Xāng declined. By the 15th century all
the Tai peoples faced challenges from their increasingly powerful neighbours, the
Vietnamese to the east and the Burmese to the west (the Ayutthaya Siamese had
extinguished the power of the Khmers in 1431). In 1479, for reasons that are unclear,
the Vietnamese under their great king Le Thanh Tong invaded the Lao lands, and
sacked Luang Phrabāng.
In response, king Vixun (reigned 1501-20) took two important steps to shore up the
throne. First he ordered that the chronicle of royal history known as the Nithān Khun
Bôrum (Story of King Bôrum) be written down, providing an important source of
legitimacy for the dynasty. Second he brought to Lān Xāng from Angkor a precious
gold image of the Buddha, known as the Phra Bāng or Holy Buddha Image. (The
traditional belief is that the image was cast in Sri Lanka in the 1st century AD and
later presented to the Khmer kings. The current view is that the statue is of Khmer
origin and dates from the Khmer Empire period.) These two steps emphasised that the
king of Lān Xāng ruled both by hereditary right as the descendent of the legendary
King Bôrum, and by his accumulated merit, the key concept in Buddhism.
After Vixun's death, two strong kings, Phōthisālarāt (1520-48) and his son
Xētthāthirāt (1548-71) maintained the strength and prestige of the kingdom. In 1558,
however, the first of a series of major Burmese invasions took place. The Burmese
sacked Chiang Mai, ending the independence of Lān Nā, and devastated the western
areas of Lān Xāng. In response, Xētthāthirāt formed an alliance with Ayutthaya, and
in 1560 he moved his capital down the river to Viang Chan, which was both more
defensible and closer to Siamese aid. Here he built a great new temple, the Ho Phra
Kaeo, where he installed the ancient and revered Emerald Buddha (rescued by the Lao
from the fall of Chiang Mai) as a new symbol of his reign. The Phra Bāng was left
behind at Xiang Dong Xiang Thong to protect the city, which was now renamed
Luang Phrabāng ("great Phra Bāng").
In 1569 the Burmese struck again, capturing Ayutthaya and leaving Lān Xāng
exposed. The Burmese briefly occupied Viang Chan in 1570, but after a few months
Xētthāthirāt was able to drive them out, leaving his prestige higher than ever. But the
following year he attempted an invasion of Cambodia, in the course of which he was
killed and his army dispersed. This disaster left Lān Xāng defenceless against the
Burmese, and for the next 60 years Lān Xāng was a Burmese vassal, sometimes under
direct occupation. There were several periods when there was no king at all, and the
Lao seemed doomed to be absorbed by the Siamese or the Burmese.
But in 1637 Surinyavongsā, the greatest and last king of Lān Xāng, claimed the throne
and re-established the independence of the kingdom. He established cordial relations
with the Siamese King Narai at Ayutthaya, and this alliance was strong enough to
ward off the Burmese and the Vietnamese for many years. Under his rule the kingdom
became increasingly prosperous, and Viang Chan was endowed with many temples

and palaces (of which few survive). The city became a great centre of Buddhist
scholarship, with monks coming from Siam and Cambodia to study in its wats
(schools).
It was during the reign of Surinyavongsā that the first Europeans saw the Lao lands. A
Dutch merchant, Gerritt van Wuysthoff arrived by river from Phnom Penh in about
1641. His account attracted the attention of the Jesuits, who were always keen to be
the first to claim the souls of newly-discovered peoples. The first missionary,
Giovanni-Maria Leria, arrived soon after van Wuysthoff's return, and he stayed for six
years, learning the language and studying the religion and customs of the Lao. Most
of our knowledge of Lān Xāng in its later years comes from Leria's records. He won
few converts to Christianity, but he did succeed in making the outside world aware of
the wealth of the Lao kingdom.
Two circumstances combined to bring about the fall of Lān Xāng. Surinyavongsā had
only one son, whom he caused to be executed for adultery. On Surinyavongsā's death
in 1694, therefore, there was no heir, and a battle for the throne broke out into which
Lān Xāng's neighbours were soon drawn. The second factor was the kingdom's
isolation. Both the Siamese and the Vietnamese had been in contact with the
Europeans much longer than the Lao, and had acquired firearms, while the landlocked
Lao could not trade directly with the Europeans. Divided and leaderless, they were no
match for the Siamese with their guns and European advisers. Vietnam (under Trinh
Can) sent an army into Lān Xāng and so did the Ayutthaya kingdom under king
Petratcha. After a decade of warfare and anarchy, Lān Xāng was broken up in 1707
into its three constituent parts, with Siamese vassal kingdoms at Luang Phrabāng,
Viang Chan and Champāsak. Viang Chan and Champāsak paid tribute to the
Vietnamese as well as the Siamese - a fact of considerable importance later.
Today official Lao historiography describes Lān Xāng as a Lao national state, and
thus the direct ancestor of modern Laos. This view needs considerable qualification.
There was no real distinction between the Siamese, the Lao and other Tai-speaking
people before the 19th century. Their culture and religion were almost identical and
their languages closely related. The kings of Lān Xāng were Lao-Lum, but the
peoples under their rule spoke a variety of languages, including Siamese, Khmer and
various Lao-Thoeng, Lao-Sūng and other minority languages. The Lao-Lum treated
the upland Lao not as fellow-countrymen but as inferiors, referring to them as khā
(slaves) and maeo (savages). The basis of the kings' authority was dynastic and
religious, not ethnic or national. When necessity required, they paid tribute to
Siamese, Vietnamese, Burmese or Chinese rulers with equal alacrity. As will be seen,
it was only after the fall of Lān Xāng, when the Siamese had absorbed some European
ideas of national superiority and imposed a semi-colonial rule on the Viang Chan Lao,
that a Lao national consciousness began to appear.
Siamese domination
What saved the Lao was the arrival of European colonialism in the region. This is a
point that the current official history of Laos, with its emphasis on the later anticolonial
struggles, prefers not to mention, but there is no denying that the end of
Siamese rule over parts of the Lao lands and creation of a Lao state were the work of
the French, and were a by-product of the rivalry between the French and the British

colonial empires. Unlike the Dutch and Portuguese, these powers were not content to
trade with the states of South-East Asia - they sought territorial control. Burma, which
had been the terror of the Tai peoples for centuries, was annexed by British India in
stages between 1826 and 1885. Vietnam, the other traditional power in the region,
succumbed to the French, with a protectorate established over southern Vietnam and
eastern Cambodia in 1862 and over the rest of Vietnam in 1883.
These developments spelled trouble for Siam, which found itself caught between two
aggressive colonial powers. Under the modernising kings Rama IV (1851-68) and
Rama V (1868-1910), Siam sought to make itself a modern state able to defend its
independence, but the borders of its ramshackle, multi-ethnic empire were not
defensible. The 1883 treaty with the Emperor of Vietnam gave the French the right to
control all territories which were or had been tributary to the court of Hué, and not
surprisingly they chose to interpret this very broadly. Most of the Lao lands had at one
time or another been nominal tributaries of Vietnam, although this had frequently
meant nothing in practice. The French imposed a European conception of statehood
on these feudal relationships, and from them concocted a territorial claim to all of the
former kingdom of Lān Xāng.
The principal French agent in this was Auguste Pavie (1847-1925), who had already
spent 17 years in Vietnam and Cambodia furthering French interests when he was
appointed French vice-consul in Luang Phrabāng in 1886. Pavie was also a noted
explorer and scholar with a genuine affection for the Indochinese peoples, whom he
saw as being liberated from ignorance and feudalism by an enlightened France. He
regarded the Siamese rulers of the Lao lands as corrupt and oppressive. When Luang
Phrabāng was attacked by Tai tribespeople from the hills, and the Siamese
representatives fled, it was Pavie who organised the defence of the town and rescued
the elderly King Unkham. The king was so grateful that he asked for French
protection in place of Siamese rule. Pavie was unable to arrange this, although he did
bring about the annexation of the Tai-speaking Sipsông Chu area to French Vietnam.
Pavie called his building of French goodwill in Laos the "conquest of hearts," but
ultimately it would require force to evict the Siamese.                
By 1890 the French authorities in Hanoi, backed by a powerful party in the French
Parliament, were determined on the annexation of the whole of Siam, with the
detachment of Laos seen only as the first stage. In 1892 Pavie was appointed French
Consul-General in Bangkok, and demanded that the Siamese accept French
"commercial agents" in the main Lao towns, from Luang Phrabāng to Stung Treng.
Pavie argued that France should demand a protectorate over all the Lao lands on both
sides of the Mekong. This, he argued, would so weaken Siam that its full annexation
could soon follow. Fully aware of what the French were up to, Siam rushed troops
and administrators into the Lao lands, but its infrastructure was not well developed
enough for it to take a really firm grip on such distant provinces. Furthermore Rama
V's belief that the British would support him in any clash with the French proved
unfounded.
In July 1893 minor border clashes led to an armed confrontation, with French
gunboats sailing up the Chao Phraya to threaten Bangkok. Faced with such threats,
Siam capitulated, and France established a protectorate over everything east of the
Mekong. In 1904 there was a further clash, largely manufactured by the French.

    Again the British did not come to Siam's defence, and again Siam was forced to back
down, ceding two strips of land west of the Mekong: Xainaburī in the north and
Champāsak in the south. At the same time Stung Treng was moved from Laos to
Cambodia and some modifications made to the border between Laos and Vietnam.
These changes established the Lao borders as they have been ever since.
The French expansionists, urged on by Pavie, now wanted to press on and demand the
Lao-speaking lands on the Khōrāt Plateau, but at this point the British intervened.
Having gained control of Burma and Malaya, they preferred to maintain Siam as a
buffer state between their empire and the French, rather than allow the French to
annex all of Siam. By 1909 the situation in Europe had changed, and France decided
it needed a British alliance against the rising power of Germany. Paris therefore
decided that empire-building in Siam was no longer worth the risks of a clash with
British interests.
The aborted French grab for control of all the Lao lands thus created the current Lao
borders, which became permanent when Britain opposed any further French advance
into Siam. But it also created the predicament which has faced the Lao people ever
since. If the French had not interfered at all in Siam's internal affairs, the Lao would
probably have been quietly absorbed into a greater Tai-speaking Siamese state. If on
the other hand France had succeeded in detaching all the Lao lands from Siam, there
might today be a major Lao state, a true reconstruction of Lān Xāng on both banks of
the Mekong, with perhaps 20 million people. Instead, the Lao state today has 6
million people, of whom only half speak Lao as their first language. The Isan region
of Thailand, meanwhile, contains 15 million Lao-speakers (the language is now
officially called "North-East Thai", but it is almost identical to standard Lao). With
the recent large migration from Isan to Bangkok, there are now more Lao speakers in
Bangkok than in Viang Chan, the Lao capital. The Lao are almost unique in this lack
of congruence between their geographical distribution and the borders of what claims
to be their nation state.
Sisavang Vatthana, and know little
  Having failed in their grand plan to annex Siam, the French lost interest in Laos, and
for the next fifty years it remained a backwater of the French empire in Indochina.
Officially, the Kingdom of Luang Phrabāng and the Principality of Champāsak
remained protectorates with internal autonomy, but in practice they were controlled
by French residents. King Sīsavāngvong, who became King of Luang Phrabāng in
1904, remained conspicuously loyal to the French through his 55-year reign. The rest
of the country was at first divided into two regions, Upper Laos and Lower Laos, each
controlled by a Commandant, based in Luang Phrabāng and Pākxē respectively. Later
the country was divided into eleven provinces, each with a French resident. In 1898
all the Lao lands were put under the general supervision of a Resident-Superior, based
in Viang Chan (which the French spelled Vientiane) and answerable to the French
Governor-General in Hanoi. Security, customs and communications were controlled
from Hanoi, and therefore much neglected in the Lao lands, which had a low budget
priority. The local authorities handled health, education and justice, and were
expected to fund their own operations from local revenue.

The French inherited a territory which was depopulated and demoralised by years of
warfare and disorder: in 1910 there were only 600,000 people in Laos, including
many Chinese and Vietnamese. To establish order, a local militia, the Garde Indigène,
was established, comprising a mixture of Lao and Vietnamese troops under French
officers. Banditry was suppressed, slavery abolished, and the Lao-Lum aristocracy's
practice of demanding labour service from Lao Theong and Lao Sūng peoples was
stopped. Vietnamese clerks were brought in to provide administrative support to the
very small number of French officials who ran the country - in 1910 there were only
200 French in the whole country. Vietnamese and Chinese merchants arrived to
repopulate the towns (particularly Viang Chan) and revive trade.
The French took over the head tax previously collected by the Siamese, but since
French officials were less corrupt than the Siamese had been the amount collected
increased. The Lao were also made universally liable for labour service, fixed at ten
days per head per year, although exemption could be bought with a cash payment.
The Lao-Lum much resented this imposition, seen by them as fit only for upland Lao
and slaves. Vietnamese and Chinese were exempt from labour service, but paid a
higher head tax in cash. Further revenue was gained by making opium, alcohol and
salt state monopolies. Nevertheless the administration in Laos was always short of
money, and development, particularly in the uplands, was very slow.
On the whole the Lao found French rule preferable to Siamese rule, and this ensured
that for some time there no organised resistance to their presence. In 1901, however, a
revolt broke out in the south, led by a Lao Theong called Ong Kaeo, a self-proclaimed
phū mī bun (holy man) who led a messianic cult. This revolt was not specifically anti-
French or Lao nationalist in character, but attracted wide support and was not
effectively suppressed until 1910 when Ong Kaeo was killed. One of Ong Kaeo's
lieutenants, Ong Kommadam, however, survived and went on to become a Lao
nationalist leader in later years. After the Chinese revolution of 1911, there was also
trouble in northern Laos as Chinese warlords and bandits carried their fights across
the ill-defined border and as Lao Sūng peoples with links to China were drawn into
the conflict. French attempts to regulate the opium trade also provoked resistance in
some areas. In 1914-16 there was a Hmong rebellion known as "the madman's revolt"
after its leader, a shaman called Pāchai. Later Lao official histories portray all these
disturbances as "anti-colonial struggles," but this is an exaggeration.
The favourable comparison between French rule and Siamese rule led to a
considerable re-migration of Lao from the Isan area to Laos, boosting the population
and reviving trade. The Mekong valley towns such as Viang Chan, Savannakhēt and
Paksē began to grow, although they remained majority Vietnamese and Chinese.
Agriculture and trade also revived. The French hoped to divert Lao trade down the
Mekong to Saigon, but they were unable to compete with the quicker and cheaper
trade route through Bangkok, particularly once the Siamese railways reached the
Mekong in the late 1920s. This gave Siam a continuing economic importance to Laos
even after Siamese political control had ended: a fact which has not changed. The
French proposed a railway over the mountains to Vietnam, but capital for this project
was never forthcoming from Paris. The French did however build the most important
road in Laos, National Route 13 from Viang Chan to Paksē (more recently it has been
extended north to Luang Phrabāng). But economic development remained slow. There
was some tin-mining and some coffee-growing, but the country's isolation and

difficult terrain meant that it never became profitable from a colonialist point of view.
More than 90% of the Lao remained subsistence farmers, growing just enough surplus
produce to sell for cash to pay their taxes.
Most of the French who came to Laos as officials, settlers or missionaries developed a
strong affection for the country and its people, and many devoted decades to what
they saw as bettering the lives of the Lao. Some took Lao wives, learned the language,
became Buddhists and "went native" - something more acceptable in the French
Empire than in the British. With the racial attitudes typical of Europeans at this time,
however, they tended to classify the Lao as gentle, amiable, childlike, naive and lazy,
regarding them with what one writer called "a mixture of affection and exasperation."
They had no belief that the Lao would ever be able to govern themselves, and were
slow to establish a system of western education for the Lao. The first secondary
school in Viang Chan did not open until 1921, and only in the 1930s did the first Lao
students get a higher French education in Hanoi or Paris. Gradually a network of
primary schools spread through the lowland areas, and by the 1930s literacy rates
among the Lao Lum had increased considerably. But the upland areas, where people
spoke either Lao dialects or non-Lao languages, remained untouched.
Among the first Lao to get advanced western educations were three aristocratic
brothers, sons (by different mothers) of Chau Bunkhong, the uparāt (hereditary viceking)
of Luang Phrabāng: these were Prince Phetxarāt (1890-1959), Prince
Suvannaphūmā (1901-84) and Prince Suphānuvong (1909-95), who were later to
dominate Lao politics for many years. Phetxarāt graduated from the École Coloniale
in Paris and was the first Lao to study at Oxford University. Both Suvannaphūmā and
Suphānuvong graduated in engineering in France. Suvannaphūmā also studied
classics and read Latin and Greek as well as Pali: becoming the very model of a
French scholar-politician. It is a standard observation of post-colonial history that
enlightened colonialism brought about its own demise by creating a class of westerneducated
intellectuals who then became leaders of anti-colonialist movements. The
French education of men like Phetxarāt, Suvannaphūmā and Suphānuvong would
seem to confirm this in the case of Laos, but in fact all were essentially Lao aristocrats
first and nationalist intellectuals second, even though Suphānuvong eventually
became the figurehead leader of the Lao Communists. Laos never produced a figure
like Pol Pot, a fully formed French Marxist ideologue.
The real French contribution to Lao nationalism, apart from the creation of the Lao
state itself, was made by the oriental specialists of the French School of the Far East
(École Française d'Extrême-Orient), who undertook major archaeological works,
found and published Lao historical texts, standardised the written Lao language,
renovated neglected temples and tombs and in 1931 founded the Independent Lao
Buddhist Institute in Viang Chan, where Pali was taught so that the Lao could study
their own ancient history. The restoration and preservation of the cultural glories of
Luang Phrabāng is a lasting tribute to French scholarship and endeavour.
The French stimulation of Lao culture and historical studies created a new Lao
intellectual class, which was soon led by Phetxarāt, a gifted scholar. Phetxarāt is today
remembered as a nationalist, but at first he was the leading Lao collaborator with the
French. In 1923 he was appointed Indigenous Inspector of Political and
Administrative Affairs, making him the highest ranking Lao in the country. He
 worked to increase the number of Lao in administrative positions and to reduce the
role of the Vietnamese, whom the Lao disliked much more than they did the French.
Phetxarāt and other leading Lao favoured French rule because it protected them from
the Siamese and Vietnamese. It was only when French power and prestige were broken that the Lao elite turned against the French.
The Crisis of World War II
    Laos might have drifted along as a pleasant backwater of the French Empire
indefinitely had not outside events impacted sharply on the country from 1940
onwards. The fall of France to the Nazi German invasion was a profound shock to
Lao faith in France's ability to protect them. The greatest threat to Laos was now
Siamese irredentism. In December 1940 Marshall Phibun's military regime in
Bangkok attacked French Indochina with the covert assistance of the Japanese,
seizing western Cambodia, and reclaiming Xainaburī and Champāsak, which been
part of French Laos since 1904. The Vichy French authorities allowed Japan to base
troops in Indochina, though not at this stage in Laos. The fear of being left exposed to
Thailand (as Phibun had renamed Siam) and Japan led to the formation of the first
Lao nationalist organisation, the Movement for National Renovation, in January 1941,
led by Phetxarāt and supported by local French officials, though not by the Vichy
authorities in Hanoi. This group wrote the current Lao national anthem and designed
the current Lao flag, while paradoxically pledging support for France.
     There matters rested until the liberation of France in 1944, bringing Charles de Gaulle
to power. This meant the end of the alliance between Japan and the French
administration in Indochina. The Japanese had no intention of allowing the Gaullists
to take over, and in late 1944 they staged a military coup in Hanoi. French Gaullist
units fled over the mountains to Laos, pursued by the Japanese, who occupied Viang
Chan in March 1945 and Luang Phrabāng in April. King Sīsavāngvong was detained
by the Japanese, but his son Crown Prince Savāngvatthanā called on all Lao to assist
the French, and many Lao died fighting with the French resistance against the
Japanese occupiers.
    Prince Phetxarāt, however, opposed this position, and thought that Lao independence
could be gained by siding with the Japanese, who made him Prime Minister of Luang
Phrabāng, though not of Laos as a whole. In practice the country was in chaos and
Phetxarāt's government had no real authority. Another Lao group, the Lao Sēri (Free
Lao), became agents of the Thais, which also meant supporting the Japanese. A
further complication was the arrival of substantial numbers of Vietnamese forces
loyal to the Communist leader Ho Chi Minh. Although the official Communist line at
this time was unite all forces against the Japanese, the Vietnamese hated the French
and so supported Phetxarāt's government.
   In August 1945, just as the country was dissolving into a multi-sided civil war, Japan
suddenly surrendered to the Allies. In Laos as in all the newly-liberated capitals of
East Asia, there was a scramble to fill the power-vacuum. The main contenders were
the Gaullist French, whose guerilla forces were holding out with Lao assistance in
several parts of the country, and a new Lao nationalist group led by Phetxarāt, the Lao
Issara (also meaning Free Lao). The nearest Allied army was the Chinese Nationalist
army in southern China, and this force was supposed to march south and receive the
Japanese surrender. The United States was officially opposed to the re-establishment
of French rule in Indochina, and the British could be expected to be unhelpful. But the
French had no intention of giving up Indochina without a fight.


See also
History of Laos since 1945
Retrieved from "http://en.wikipedia.org/wiki/History_of_Laos_to_1945"