สังคมมนุษย์โลก
สังคมมนุษย์
ประเภทของสัตว์ทางสังคมวิทยา แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามทั้งทางด้านวัตถุและจิตใจที่มนุษย์สร้างขึ้นในสังคมหนึ่ง ที่มีการสืบทอดมาเป็นเวลานานและตกทอดไปสู่ชนรุ่นหลัง ได้แก่ ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี การแต่งกาย เป็นต้น
ประเภทของวัฒนธรรม
1. วัฒนธรรมทางวัตถุหรือรูปนาม ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ สถาปัตยกรรม เครื่องจักรกล
2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุหรือนามธรรม ได้แก่ ภาษา อุดมการณ์ ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี
ลักษณะของวัฒนธรรม
1. เกิดจากการเรียนรู้ ไม่ใช่ถ่ายทอดทางชีวภาพหรือกรรมพันธุ์
2. เป็นวิถีชีวิตหรือแบบแผนการดำรงชีวิต
3. เป็นมรดกทางสังคมถ่ายทอดมาสู่ชนรุ่นหลังได้
4. มีการเปลี่ยนแปลงได้ ปรับปรุงให้ดีขึ้นหรือสูญสลายไป
5. เพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกในสังคม
ความสำคัญของวัฒนธรรม
1. สนองความต้องการของมนุษย์
2. เป็นเครื่องมือในการจัดระเบียบทางสังคม
3. สร้างความเจริญให้สังคม
4. สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแก่สมาชิก
5. สร้างเอกลักษณ์ของสังคม
6. สร้างมรดกทางสังคม
ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรมไทย
1. เป็นวัฒนธรรมที่นับถือระบบเครือญาติ
2. เป็นวัฒนธรรมที่เชื่อถือในการบุญการกุศลในเทศกาลต่าง ๆ
3. เป็นวัฒนธรรมที่มีแบบแผนพิธีกรรม มีขั้นตอนต่าง ๆ ในการประกอบพิธี
4. เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม
5. เป็นวัฒนธรรมที่นิยมความสนุกสนาน การละเล่นที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ของงาน
6. เป็นวัฒนธรรมผสมผสานของวัฒนธรรมชาติอื่น ๆ เข้าผสมผสานด้วยโลก
* วงเล็บแรกหลังชื่อประเทศคือ "เมืองหลวง" วงเล็บต่อมาคือ "ทวีปที่ตั้ง" โดย
NA = North America, SA = South America,
EU = Europe, AF = Africa, AS = Asia, AU = Australia, AN = Antarctic
** ประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติมีทั้งหมด 192 ประเทศ คือประเทศที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการทุกประเทศ ยกเว้นเพียงประเทศเดียวคือ Vatican Cit
สังคมมนุษย์
ประเภทของสัตว์ทางสังคมวิทยา แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. สัตว์สังคม เป็นสัตว์ที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกันและกัน เช่น ผึ้ง แตน ต่อ ช้าง เป็นต้น
2. สัตว์โลก เป็นสัตว์ที่ดำรงชีวิตตามลำพังได้โดยไม่ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่มก็ได้ เช่น จระเข้ แมว สุนัข แรด เป็นต้น
มนุษย์จัดเป็นสัตว์สังคมจำพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยมีลักษณะพิเศษเหนือกว่าสัตว์อื่น ๆ เพราะมีลักษณะดังนี้
1. อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม
2. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
3. มีความสัมพันธ์กันทางสังคม
4. มีการจัดระเบียบทางสังคม
ลักษณะพื้นฐานทางสังคม
สังคมมนุษย์หรือสังคมสัตว์จะมีลักษณะพื้นฐานร่วมกัน คือ
1. ระดับความสัมพันธ์ ต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่มาอยู่ร่วมกันสูงกว่าการมารวมเป็นกลุ่มเฉย ๆ
2. หน่วยที่มารวมตัวกันต้องเป็นอิสระแยกอยู่ต่างหากจากกัน
ลักษณะพิเศษของมนุษย์ที่แตกต่างจากสัตว์อื่น
1. มีมันสมองขนาดใหญ่สามารถใช้สมองได้ดีกว่า มีสติปัญญาสูงและเฉลียวฉลาดกว่าสัตว์ เช่น มีการทดสอบข้อเท็จจริง มีการตั้งโจทย์ปัญหา มีการศึกษาค้นคว้า เป็นต้น
2. มนุษย์สามารถสร้างและใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ดี เช่น ภาษา ท่าทาง กริยา เครื่องหมายต่าง ๆ ทำให้สามารถมนุษย์ถ่ายทอดลักษณะวัฒนธรรมต่อกันได้อย่างกว้างขวาง
3. มนุษย์มีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากสังคมและวัฒนธรรม ทำให้สังคมมนุษย์มีความเป็นระเบียบและสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้สังคมได้
สิ่งที่มนุษย์ต่างจากสัตว์อื่น
1. มีมันสมองขนาดใหญ่ ทำให้มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด
2. มีร่างกายตั้งตรงกับพื้นโลก สามารถใช้มือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีหัวแม่มืออยู่ตรงข้ามกับนิ้วอื่น ๆ และไม่ติดกัน
4. มีดวงตาอยู่ด้านหน้า สามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ดี
5. มีความต้องการทางเพศไม่จำกัดฤดูกาล
6. มีระบบประสาทที่สลับซับซ้อน
สังคมมนุษย์
สังคม หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มาอยู่รวมกันโดยมีความสัมพันธ์กันในลักษณะคงทนถาวร
สังคมมนุษย์ หมายถึง กลุ่มชนที่อาศัยอยู่ร่วมกันในดินแดนหนึ่ง มีความสัมพันธ์กันภายใต้ระเบียบและกฎเกณฑ์เดียวกัน มีลักษณะวัฒนธรรมเหมือนกัน
2. สัตว์โลก เป็นสัตว์ที่ดำรงชีวิตตามลำพังได้โดยไม่ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่มก็ได้ เช่น จระเข้ แมว สุนัข แรด เป็นต้น
มนุษย์จัดเป็นสัตว์สังคมจำพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยมีลักษณะพิเศษเหนือกว่าสัตว์อื่น ๆ เพราะมีลักษณะดังนี้
1. อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม
2. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
3. มีความสัมพันธ์กันทางสังคม
4. มีการจัดระเบียบทางสังคม
ลักษณะพื้นฐานทางสังคม
สังคมมนุษย์หรือสังคมสัตว์จะมีลักษณะพื้นฐานร่วมกัน คือ
1. ระดับความสัมพันธ์ ต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่มาอยู่ร่วมกันสูงกว่าการมารวมเป็นกลุ่มเฉย ๆ
2. หน่วยที่มารวมตัวกันต้องเป็นอิสระแยกอยู่ต่างหากจากกัน
ลักษณะพิเศษของมนุษย์ที่แตกต่างจากสัตว์อื่น
1. มีมันสมองขนาดใหญ่สามารถใช้สมองได้ดีกว่า มีสติปัญญาสูงและเฉลียวฉลาดกว่าสัตว์ เช่น มีการทดสอบข้อเท็จจริง มีการตั้งโจทย์ปัญหา มีการศึกษาค้นคว้า เป็นต้น
2. มนุษย์สามารถสร้างและใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ดี เช่น ภาษา ท่าทาง กริยา เครื่องหมายต่าง ๆ ทำให้สามารถมนุษย์ถ่ายทอดลักษณะวัฒนธรรมต่อกันได้อย่างกว้างขวาง
3. มนุษย์มีพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากสังคมและวัฒนธรรม ทำให้สังคมมนุษย์มีความเป็นระเบียบและสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าให้สังคมได้
สิ่งที่มนุษย์ต่างจากสัตว์อื่น
1. มีมันสมองขนาดใหญ่ ทำให้มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด
2. มีร่างกายตั้งตรงกับพื้นโลก สามารถใช้มือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีหัวแม่มืออยู่ตรงข้ามกับนิ้วอื่น ๆ และไม่ติดกัน
4. มีดวงตาอยู่ด้านหน้า สามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ดี
5. มีความต้องการทางเพศไม่จำกัดฤดูกาล
6. มีระบบประสาทที่สลับซับซ้อน
สังคมมนุษย์
สังคม หมายถึง กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มาอยู่รวมกันโดยมีความสัมพันธ์กันในลักษณะคงทนถาวร
สังคมมนุษย์ หมายถึง กลุ่มชนที่อาศัยอยู่ร่วมกันในดินแดนหนึ่ง มีความสัมพันธ์กันภายใต้ระเบียบและกฎเกณฑ์เดียวกัน มีลักษณะวัฒนธรรมเหมือนกัน
ลักษณะที่สำคัญของสังคม
1. มีอาณาเขต บริเวณที่อยู่อาศัยที่แน่นอน
2. ประกอบด้วยกลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันอย่างถาวรทุกเพศทุกวัย
3. มีความสัมพันธ์ทางสังคม และพึ่งพาอาศัยกัน
4. เป็นกลุ่มคนที่มีอิสระในการประกอบอาชีพและเลี้ยงตัวเองได้
5. กลุ่มดำเนินไปเรื่อย ๆ ดำรงอยู่และสืบทอดโดยอนุชนรุ่นหลัง
6. มีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตเด่นชัดเป็นของตนเอง
สาเหตุที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม
1. เพื่อสนองความต้องการพื้นฐาน ได้แก่
- ความต้องการทางกายภาพ เช่น ต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกสบายในการดำรงชีวิต
- ความต้องการทางชีวภาพ เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค
- ความต้องการทางจิตใจ เช่น ความรัก ความอบอุ่น
- ความต้องการทางสังคม เช่น ต้องการเป็นที่ยอมรับของคนในสังคม อันทำให้เกิดอำนาจ เกียรติยศชื่อเสียง
2. เพื่อทำให้มีความเป็นมนุษย์สมบูรณ์
3. เพื่อสร้างความเจริญให้กับตนเองและสังคม
หน้าที่ของสังคมมนุษย์
1. ผลิตสมาชิกใหม่และทำนุบำรุงสมาชิกเก่า
2. ผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการ
3. อบรมสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคม
ลักษณะที่มนุษย์เหมือนกับสัตว์อื่น
1. ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมทั้งทางชีวภาพ และทางธรรมชาติเพื่อบำบัดความต้องการต่าง ๆ
2. มีลักษณะคล้ายผู้ให้กำเนิดหรือบรรพบุรุษ
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ ผู้ที่ปรับตัวไม่ได้จึงมักเสียเปรียบ
4. มีความสามารถแสวงหา หรือค้นคว้าวิธีการต่อสู้เพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตนต้องการ
5. ต้องการอาหาร น้ำ อากาศ และที่อยู่อาศัย
6. มีความสามารถในการสืบพันธ์ หรือสร้างสมาชิกใหม่
1. มีอาณาเขต บริเวณที่อยู่อาศัยที่แน่นอน
2. ประกอบด้วยกลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันอย่างถาวรทุกเพศทุกวัย
3. มีความสัมพันธ์ทางสังคม และพึ่งพาอาศัยกัน
4. เป็นกลุ่มคนที่มีอิสระในการประกอบอาชีพและเลี้ยงตัวเองได้
5. กลุ่มดำเนินไปเรื่อย ๆ ดำรงอยู่และสืบทอดโดยอนุชนรุ่นหลัง
6. มีวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตเด่นชัดเป็นของตนเอง
สาเหตุที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคม
1. เพื่อสนองความต้องการพื้นฐาน ได้แก่
- ความต้องการทางกายภาพ เช่น ต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกสบายในการดำรงชีวิต
- ความต้องการทางชีวภาพ เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค
- ความต้องการทางจิตใจ เช่น ความรัก ความอบอุ่น
- ความต้องการทางสังคม เช่น ต้องการเป็นที่ยอมรับของคนในสังคม อันทำให้เกิดอำนาจ เกียรติยศชื่อเสียง
2. เพื่อทำให้มีความเป็นมนุษย์สมบูรณ์
3. เพื่อสร้างความเจริญให้กับตนเองและสังคม
หน้าที่ของสังคมมนุษย์
1. ผลิตสมาชิกใหม่และทำนุบำรุงสมาชิกเก่า
2. ผลิตสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการ
3. อบรมสมาชิกให้เรียนรู้ระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคม
ลักษณะที่มนุษย์เหมือนกับสัตว์อื่น
1. ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมทั้งทางชีวภาพ และทางธรรมชาติเพื่อบำบัดความต้องการต่าง ๆ
2. มีลักษณะคล้ายผู้ให้กำเนิดหรือบรรพบุรุษ
3. สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ ผู้ที่ปรับตัวไม่ได้จึงมักเสียเปรียบ
4. มีความสามารถแสวงหา หรือค้นคว้าวิธีการต่อสู้เพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตนต้องการ
5. ต้องการอาหาร น้ำ อากาศ และที่อยู่อาศัย
6. มีความสามารถในการสืบพันธ์ หรือสร้างสมาชิกใหม่
วัฒนธรรม
วัฒนธรรม หมายถึง ความเจริญงอกงามทั้งทางด้านวัตถุและจิตใจที่มนุษย์สร้างขึ้นในสังคมหนึ่ง ที่มีการสืบทอดมาเป็นเวลานานและตกทอดไปสู่ชนรุ่นหลัง ได้แก่ ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี การแต่งกาย เป็นต้น
ประเภทของวัฒนธรรม
1. วัฒนธรรมทางวัตถุหรือรูปนาม ได้แก่ สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น ตู้เย็น โทรทัศน์ สถาปัตยกรรม เครื่องจักรกล
2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุหรือนามธรรม ได้แก่ ภาษา อุดมการณ์ ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี
ลักษณะของวัฒนธรรม
1. เกิดจากการเรียนรู้ ไม่ใช่ถ่ายทอดทางชีวภาพหรือกรรมพันธุ์
2. เป็นวิถีชีวิตหรือแบบแผนการดำรงชีวิต
3. เป็นมรดกทางสังคมถ่ายทอดมาสู่ชนรุ่นหลังได้
4. มีการเปลี่ยนแปลงได้ ปรับปรุงให้ดีขึ้นหรือสูญสลายไป
5. เพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกในสังคม
ความสำคัญของวัฒนธรรม
1. สนองความต้องการของมนุษย์
2. เป็นเครื่องมือในการจัดระเบียบทางสังคม
3. สร้างความเจริญให้สังคม
4. สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันแก่สมาชิก
5. สร้างเอกลักษณ์ของสังคม
6. สร้างมรดกทางสังคม
ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรมไทย
1. เป็นวัฒนธรรมที่นับถือระบบเครือญาติ
2. เป็นวัฒนธรรมที่เชื่อถือในการบุญการกุศลในเทศกาลต่าง ๆ
3. เป็นวัฒนธรรมที่มีแบบแผนพิธีกรรม มีขั้นตอนต่าง ๆ ในการประกอบพิธี
4. เป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม
5. เป็นวัฒนธรรมที่นิยมความสนุกสนาน การละเล่นที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ของงาน
6. เป็นวัฒนธรรมผสมผสานของวัฒนธรรมชาติอื่น ๆ เข้าผสมผสานด้วย
โลก เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่สาม โดยโลกเป็นดาวเคราะห์หินขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ และเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวที่วิทยาศาสตร์สมัยใหม่ยืนยันได้ว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ดาวเคราะห์โลกถือกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,570 ล้าน (4.57×109) ปีก่อน และหลังจากนั้นไม่นานนัก ดวงจันทร์ซึ่งเป็นดาวบริวารเพียงดวงเดียวของโลกก็ถือกำเนิดตามมา สิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญาที่ครองโลกในปัจจุบันนี้คือมนุษย์
โลก มีลักษณะเป็นทรงวงรี โดย ในแนวดิ่งเส้นผ่าศูนย์กลางยาว 12,711 กม. ในแนวนอน ยาว 12,755 กม. ต่างกัน 44 กม. มีพื้นน้ำ 3 ส่วน หรือ 71% และมีพื้นดิน 1 ส่วน หรือ 29 % แกนโลกจะเอียง 23.5 องศา
สัญลักษณ์ของโลกประกอบด้วยกากบาทที่ล้อมด้วยวงกลม โดยเส้นตั้งและเส้นนอนของกากบาทจะแทนเส้นเมอริเดียนและเส้นศูนย์สูตรตามลำดับ สัญลักษณ์อีกแบบของโลกจะวางกากบาทไว้เหนือวงกลมแทน
มนุษย์
มนุษย์ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Homo sapiens, ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังสืบสายพันธุ์อยู่ในจีนัส Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว
มนุษย์มีสมองที่พัฒนาอย่างสูงและสามารถให้เหตุผลเชิงทฤษฎี ภาษา พินิจภายในและแก้ไขปัญหา ขีดความสามารถทางจิตใจนี้ เมื่อประกอบกับลำตัวที่ตั้งตรงโดยปล่อยให้มือหยิบจับสิ่งของได้อิสระ ทำให้มนุษย์ใช้อุปกรณ์ได้ดีกว่าสปีชีส์อื่นใดบนโลก กระบวนการคิดระดับสูงกว่าอย่างอื่นของมนุษย์ เช่น ความตระหนักตนเอง ความมีเหตุผล และภูมิปัญญา ได้รับการพิจารณาว่าเป็นลักษณะนิยามของสิ่งที่ประกอบขึ้นเป็น "บุคคล"
มนุษย์มีเอกลักษณ์ถนัดในการใช้ระบบการสื่อสารเพื่อประโยชน์ในการแสดงออกความรู้สึกของตน แลกเปลี่ยนความคิด และการจัดการ มนุษย์สร้างโครงสร้างทางสังคมอันซับซ้อน ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มจำนวนมากที่มีทั้งร่วมมือและแข่งขันกัน จากครอบครัวและวงศาคณาญาติ ไปเป็นชาติ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างมนุษย์ได้ก่อตั้งค่านิยม บรรทัดฐานทางสังคมและพิธีกรรม ซึ่งรวมกันเป็นรากฐานของสังคมมนุษย์ ด้วยมนุษย์พบอาศัยอยู่ทุกทวีปยกเว้นแอนตาร์กติกา จึงได้ชื่อว่าเป็น "สปีชีส์พบได้ทั่วโลก" (cosmopolitan species) จนถึงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2012 ประชากรมนุษย์ที่กองประชากรสหประชาชาติประเมินไว้อยู่ที่ราว 7 พันล้านคน
มนุษย์มีความโดดเด่นในเรื่องความปรารถนาจะเข้าใจและมีอิทธิพลเหนือสิ่งแวดล้อม แสวงหาคำอธิบายและจัดการปรากฏการณ์ผ่านวิทยาศาสตร์ ปรัชญา เทพปกรณัม และศาสนา ความอยากรู้อยากเห็นในธรรมชาตินี้ได้นำไปสู่การพัฒนาเครื่องมือและทักษะขั้นสูง ซึ่งได้ถ่ายถอดมาทางวัฒนธรรม มนุษย์เป็นเพียงสปีชีส์เดียวที่สามารถก่อไฟได้ ทำอาหารเป็น สวมใส่เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ตลอดจนสร้างและใช้เทคโนโลยีและศิลปะอื่นอีกนักต่อนัก การศึกษามนุษย์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งเรียกว่า มานุษยวิทยา
ประเทศและเมืองหลวง
โดยหลักเกณฑ์ทางรัฐศาสตร์ ในการกำหนดความเป็นประเทศต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง 4 ประการ ดังนี้ ดินแดน ประชากร รัฐบาล และอำนาจอธิปไตย ซึ่งทั้ง 4 องค์ประกอบนี้ต้องได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการจากประเทศอื่นๆ ทั่วโลกเสียก่อน จึงจะมีสถานะเป็นประเทศที่แท้จริงได้
ในปัจจุบันโลกของเรานี้มี 193 ประเทศ แยกตามทวีป ดังนี้
ในปัจจุบันโลกของเรานี้มี 193 ประเทศ แยกตามทวีป ดังนี้
ทวีปเอเชีย
มี 48 ประเทศ 1.อัฟกานิสถาน 2.อาร์เมเนีย 3.อาเซอร์ไบจาน 4.บาห์เรน 5.บังกลาเทศ 6.ภูฏาน 7.บรูไนดารุสซาลาม 8.กัมพูชา 9.จีน 10.ไซปรัส 11.จอร์เจีย 12.อินเดีย 13.อินโดนีเซีย 14.อิหร่าน 15.อิรัก 16.อิสราเอล 17.ญี่ปุ่น 18.จอร์แดน 19.คาซัคสถาน 20.เกาหลีเหนือ 21.เกาหลีใต้ 22.คูเวต 23.ตีร์กีซสถาน 24.ลาว 25.เลบานอน 26.มาเลเซีย 27.มัลดีฟส์ 28.มองโกเลีย 29.พม่า 30.เนปาล 31.โอมาน
32.ปากีสถาน 33.ฟิลิปปินส์ 34.กาตาร์ 35.ซาอุดีอาระเบีย 36.สิงคโปร์ 37.ศรีลังกา 38.ซีเรีย 39.ทาจิกิสถาน 40.ไทย 41.ตุรกี 42.เติร์กเมนิสถาน 43.สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 44.อุซเบกิสถาน 45.เวียดนาม 46.เยเมน 47.ติมอร์เลสเต และ 48.ไต้หวัน (แต่สหประชาชาติไม่รับรองเป็นประเทศ)
ทวีปออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
32.ปากีสถาน 33.ฟิลิปปินส์ 34.กาตาร์ 35.ซาอุดีอาระเบีย 36.สิงคโปร์ 37.ศรีลังกา 38.ซีเรีย 39.ทาจิกิสถาน 40.ไทย 41.ตุรกี 42.เติร์กเมนิสถาน 43.สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 44.อุซเบกิสถาน 45.เวียดนาม 46.เยเมน 47.ติมอร์เลสเต และ 48.ไต้หวัน (แต่สหประชาชาติไม่รับรองเป็นประเทศ)
ทวีปออสเตรเลียและหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก
มี 14 ประเทศ 1.ออสเตรเลีย 2.ฟิจิ 3.คิริบาตี 4.หมู่เกาะมาร์แชลล์ 5.ไมโครนีเซีย 6.นาอูรู 7.นิวซีแลนด์ 8.ปาเลา 9.ปาปัวนิวกีนี 10.ซามัว 11.หมู่เกาะโซโลมอน 12.ตองกา 13. ตูวาลู 14.วานูอาตู
ทวีปยุโรป
มี 43 ประเทศ 1.แอลเบเนีย 2.อันดอร์รา 3.ออสเตรีย 4.เบลารุส 5.เบลเยียม 6.บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 7.บัลแกเรีย 8.โครเอเชีย 9.เช็ก 10.เดนมาร์ก 11.เอสโตเนีย 12.ฟินแลนด์ 13.ฝรั่งเศส 14.เยอรมนี 15.กรีซ 16.ฮังการี 17.ไอซ์แลนด์ 18.ไอร์แลนด์ 19.อิตาลี 20.ลัตเวีย 21.ลิกเตนสไตน์ 22.ลิทัวเนีย 23.ลักเซมเบิร์ก 24.มาซิโดเนีย 25.มอลตา 26.มอลโดวา 27.โมนาโก 28.เนเธอร์แลนด์ 29.นอร์เวย์ 30.โปแลนด์ 31.โปรตุเกส 32.โรมาเนีย 33.รัสเซีย 34.ซานมารีโน 35.สโลวะเกีย 36.สโลวีเนีย 37.สเปน 38.สวีเดน 39.สวิตเซอร์แลนด์ 40.ยูเครน 41.สหราชอาณาจักร 42.นครรัฐวาติกัน 43.เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ทวีปอเมริกาเหนือ
มี 22 ประเทศ 1.กัวเตมาลา 2.เกรเนดา 3.คอสตาริกา 4.คิวบา 5.แคนาดา 6.จาเมกา 7.เซนต์คิตส์และเนวิส (เซนต์คริสโตเฟอร์เนวิส) 8.เซนต์ลูเซีย 9.เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ 10.โดมินิกา 11.บาร์เบโดส 12.นิการากัว 13.บาฮามาส 14.เบลีซ 15.ปานามา 16.เม็กซิโก 17.สหรัฐอเมริกา 18.โดมินิกัน 19.เอลซัลวาดอร์ 20.แอนติกาและบาร์บูดา 21.ฮอนดูรัส 22.เฮติ
ทวีปอเมริกาใต้
มี 13 ประเทศ 1.กายอานา 2.โคลอมเบีย 3.ชิลี 4.ซูรินาเม 5.ตรินิแดดและโตเบโก 6.บราซิล 7.โบลิเวีย 8.ปารากวัย 9.เปรู 10.เวเนซุเอลา 11.อาร์เจนตินา 12.อุรุกวัย 13.เอกวาดอร์
ทวีปแอฟริกา
มี 53 ประเทศ 1.กานา 2.กาบอง 3.กินิบิสเซา 4.กินี 5.แกมเบีย 6.โกตดิวัวร์ 7.คองโก 8.คอโมโรส 9.เคนยา 10.เคปเวิร์ด 11.แคเมอรูน 12.จิบูตี 13.ชาด 14.ซิมบับเว 15.ซูดาน 16.เซเชลส์ 17.เซเนกัล 18.เซาโตเมและปรินซิเป 19.เซียร์ราลีโอน 20.แซมเบีย 21.โซมาเลีย 22.ตูนิเซีย 23.โตโก 24.แทนซาเนีย 25.นามิเบีย 26.ไนจีเรีย 27.ไนเจอร์ 28.บอตสวานา 29.บุรุนดี 30.บูร์กินาฟาโซ 31.เบนิน 32.มอริเซียส 33.มอริเตเนีย34.มาดากัสการ์ 35.มาลาวี 36.มาลี 37.โมซัมบิก 38.โมร็อกโก 39.ยูกันดา 40.รวันดา 41.ลิเบีย 42.เลโซโท 43.ไลบีเรีย 44.สวาซิแลนด์ 45.คองโก 46.แอฟริกากลาง 47.อิเควทอเรียลกินี 48.อียิปต์ 49.เอธิโอเปีย 50.เอริเทรีย 51.แองโกลา 52.แอฟริกาใต้ 53.แอลจีเรีย
ในปัจจุบันมีประเทศที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจากนานาชาติ ทั้งหมด 193 ประเทศ และมีดินแดนที่พยายามจะประกาศเป็นประเทศแต่ถูกคัดค้านจากประเทศอื่น อีก 10 ดินแดน มีรายชื่อดังนี้
รายชื่อประเทศที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจากนานาชาติ * | |
1 | Afghanistan (Kabul) (AS) |
2 | Albania (Tirane) (EU) |
3 | Algeria (Algers) (AF) |
4 | Andorra (Andorra la Vella) (EU) |
5 | Angola (Luanda) (AF) |
6 | Antigua and Barbuda (Saint John's) (NA) |
7 | Argentina (Buenos Aires) (SA) |
8 | Armenia (Yerevan) (AS, EU) |
9 | Australia (Canberra) (AU) |
10 | Austria (Vienna) (EU) |
11 | Azerbaijan (Baku) (AS, EU) |
12 | Bahamas (Nassau) (NA) |
13 | Bahrain (Manama) (AS) |
14 | Bangladesh (Dhaka) (AS) |
15 | Barbados (Bridgetown) (NA) |
16 | Belarus (Minsk) (EU) |
17 | Belgium (Brussels) (EU) |
18 | Belize (Belmopan) (NA) |
19 | Benin (Port-Novo) (AF) |
20 | Bhutan (Thimphu) (AS) |
21 | Bolivia (Sucre) (SA) |
22 | Bosnia and Herzegovina (Sarajevo) (EU) |
23 | Botswana (Gaborone) (AF) |
24 | Brazil (Brasilia) (SA) |
25 | Brunei Darussalam (Bander Seri Begawan) (AS) |
26 | Bulgaria (Sofia) (EU) |
27 | Burkina Faso (Ouagadougou) (AF) |
28 | Burundi (Bujumbura) (AF) |
29 | Cambodia (Phnom Penh) (AS) |
30 | Cameroon (Yaounde) (AF) |
31 | Canada (Ottawa) (NA) |
32 | Cape Verde (Praia) (EU) |
33 | Central African Republic (Bangui) (AF) |
34 | Chad (N'Djamena) (AF) |
35 | Chile (Santiago) (SA) |
36 | China (Beijing) (AS) |
37 | Colombia (Bogota) (SA) |
38 | Comoros (Moroni) (AF) |
39 | Congo, Democratic Republic of the (Kinshasa) (AF) |
40 | Congo, Republic of the (Brazzaville) (AF) |
41 | Costa Rica (San Jose) (NA) |
42 | Côte d'Ivoire / Ivory Coast (Yamoussoukro) (AF) |
43 | Croatia (Zagreb) (EU) |
44 | Cuba (Havana) (NA) |
45 | Cyprus (Nicosia) (AS, EU) |
46 | Czech Republic (Prague) (EU) |
47 | Denmark (Copenhagen) (EU) |
48 | Djibouti (Djibouti) (AF) |
49 | Dominica (Roseau) (NA) |
50 | Dominican Republic (Santo Domingo) (NA) |
51 | Ecuador (Quito) (SA) |
52 | Egypt (Cairo) (AF) |
53 | El Salvador (San Salvador) (NA) |
54 | Equatorial Guinea (Malabo) (AF) |
55 | Eritrea (Asmara) (AF) |
56 | Estonia (Tallinn) (EU) |
57 | Ethiopia (Addis Ababa) (AF) |
58 | Fiji (Suva) (AU) |
59 | Finland (Helsinki) (EU) |
60 | France (Paris) (EU) |
61 | Gabon (Liberville) (AF) |
62 | Gambia (Banjul) (AF) |
63 | Georgia (Tbilisi) (AS, EU) |
64 | Germany (Berlin) (EU) |
65 | Ghana (Accra) (AF) |
66 | Greece (Athens) (EU) |
67 | Grenada (Saint George's) (NA) |
68 | Guatemala (Guatemala City) (NA) |
69 | Guinea (Conakry) (AF) |
70 | Guinea-Bissau (Bissau) (AF) |
71 | Guyana (Georgetown) (SA) |
72 | Haiti (Port-au-Prince) (NA) |
73 | Honduras (Tegucigalpa) (NA) |
74 | Hungary (Budapest) (EU) |
75 | Iceland (Reykjavik) (EU) |
76 | India (New Delhi) (AS) |
77 | Indonesia (Jakarta) (AS) |
78 | Iran (Tehran) (AS) |
79 | Iraq (Baghdad) (AS) |
80 | Ireland (Dublin) (EU) |
81 | Israel (Jerusalem) (AS) |
82 | Italy (Rome) (EU) |
83 | Jamaica (Kingston) (NA) |
84 | Japan (Tokyo) (AS) |
85 | Jordan (Amman) (AS) |
86 | Kazakstan (Astana) (AS) |
87 | Kenya (Nairobi) (AF) |
88 | Kiribati (Bairiki) (AU) |
89 | Korea, Democratic People's Republic of (Pyongyang) (AS) |
90 | Korea, Republic of (Seoul) (AS) |
91 | Kuwait (Kuwait City) (AS) |
92 | Kyrgyzstan (Bishkek) (AS) |
93 | Laos (Vientiane) (AS) |
94 | Latvia (Riga) (EU) |
95 | Lebanon (Beirut) (AS) |
96 | Lesotho (Maseru) (AF) |
97 | Liberia (Monrovia) (AF) |
98 | Libya (Tripoli) (AF) |
99 | Liechtenstein (Vaduz) (EU) |
100 | Lithuania (Vilnius) (EU) |
101 | Luxembourg (Luxembourg) (EU) |
102 | Macedonia (Skopje) (EU) |
103 | Madagascar (Antananarivo) (AF) |
104 | Malawi (Lilongwe) (AF) |
105 | Malaysia (Kuala Lumpur) (AS) |
106 | Maldives (Male) (AS) |
107 | Mali (Bamako) (AF) |
108 | Malta (Valletta) (EU) |
109 | Marshall Islands (Majuro) (AU) |
110 | Mauritania (Nouakchott) (AF) |
111 | Mauritius (Port Louis) (AF) |
112 | Mexico (Mexico City) (NA) |
113 | Micronesia (Palikir) (AU) |
114 | Moldova (Chisinau) (EU) |
115 | Monaco (Monaco) (EU) |
116 | Mongolia (Ulan Bator) (AS) |
117 | Montenegro (Podgorica) (EU) |
118 | Morocco (Rabat) (AF) |
119 | Mozambique (Maputo) (AF) |
120 | Myanmar / Burma (Yangon) (AS) |
121 | Namibia (Windhoek) (AF) |
122 | Nauru (Yaren) (AU) |
123 | Nepal (Kathmandu) (AS) |
124 | Netherlands (Amsterdam) (EU) |
125 | New Zealand (Wellington) (AU) |
126 | Nicaragua (Managua) (NA) |
127 | Niger (Niamey) (AF) |
128 | Nigeria (Abuja) (AF) |
129 | Norway (Oslo) (EU) |
130 | Oman (Muscat) (AS) |
131 | Pakistan (Islamabad) (AS) |
132 | Palau (Koror) (AU) |
133 | Panama (Panama City) (NA) |
134 | Papua New Guinea (Port Moresby) (AU) |
135 | Paraguay (Asuncion) (SA) |
136 | Peru (Lima) (SA) |
137 | Philippines (Manila) (AS) |
138 | Poland (Warsaw) (EU) |
139 | Portugal (Lisbon) (EU) |
140 | Qatar (Doha) (AS) |
141 | Romania (Bucharest) (EU) |
142 | Russian Federation (Moscow) (AS, EU) |
143 | Rwanda (Kigali) (AF) |
144 | Saint Kitts and Nevis (Basseterre) (NA) |
145 | Saint Lucia (Castries) (NA) |
146 | Saint Vincent and the Grenadines (Kingstown) (NA) |
147 | Samoa (Apia) (AU) |
148 | San Marino (San Marino) (EU) |
149 | São Tomé and Príncipe (São Tomé) (AF) |
150 | Saudi Arabia (Riyadh) (AS) |
151 | Senegal (Dakar) (AF) |
152 | Serbia (Belgrade) (EU) |
153 | Seychelles (Victoria) (AF) |
154 | Sierra Leone (Freetown) (AF) |
155 | Singapore (Singapore City) (AS) |
156 | Slovakia (Bratislava) (EU) |
157 | Slovenia (Ljubljana) (EU) |
158 | Solomon Islands (Honiara) (AU) |
159 | Somalia (Mogadishu) (AF) |
160 | South Africa (Pretoria, Cape Town, Bloemfontein) (AF) |
161 | Spain (Madrid) (EU) |
162 | Sri Lanka (Colombo) (AS) |
163 | Sudan (Khartoum) (AF) |
164 | Suriname (Paramaribo) (SA) |
165 | Swaziland (Mbabane) (AF) |
166 | Sweden (Stockholm) (EU) |
167 | Switzerland (Bern) (EU) |
168 | Syria (Damascus) (AS) |
169 | Tajikistan (Dushanbe) (AS) |
170 | Tanzania (Dodoma) (AF) |
171 | Thailand (Bangkok) (AS) |
172 | Timor-Leste / East Timor (Dili) (AS) |
173 | Togo (Lome) (AF) |
174 | Tonga (Nuku'alofa) (AU) |
175 | Trinidad and Tobago (Port of Spain) (NA) |
176 | Tunisia (Tunis) (AF) |
177 | Turkey (Ankara) (EU, AS) |
178 | Turkmenistan (Ashgabat) (AS) |
179 | Tuvalu (Funafuti) (AU) |
180 | Uganda (Kampala) (AF) |
181 | Ukraine (Kiev) (EU) |
182 | United Arab Emirates (Abu Dhabi) (AS) |
183 | United Kingdom (London) (EU) |
184 | United States of America (Washington D.C.) (NA) |
185 | Uruguay (Montevideo) (SA) |
186 | Uzbekistan (Tashkent) (AS) |
187 | Vanuatu (Port Vila) (AU) |
188 | Vatican City (EU) ** |
189 | Venezuela (Caracas) (SA) |
190 | Vietnam (Hanoi) (AS) |
191 | Yemen (Sana) (AS) |
192 | Zambia (Lusaka) (AF) |
193 | Zimbabwe (Harare) (AF) |
รายชื่อดินแดนที่ถูกคัดค้านการประกาศเป็นประเทศ | |
1 | Abkhazia (Sukhumi) (AS, EU) - แยกมาจาก Georgia |
2 | Kosovo (Pristina) (EU) - แยกมาจาก Serbia |
3 | Nagorno-Karabakh (AS, EU) - แยกมาจาก Azerbaijan |
4 | North Cyprus (Nicosia) (AS, EU) - แยกมาจาก Cyprus |
5 | Palestine (Jerusalem, Gaza, Ramallah) (AS) - แยกมาจาก Israel |
6 | Sahrawi Arab Democratic Republic (Tindouf Camps, Bir Lehlou) (AF) - แยกมาจาก Morocco |
7 | Somaliland (Hargeisa) (AF) - แยกมาจาก Somalia |
8 | South Ossetia (Tskhinvali) (AS, EU) - แยกมาจาก Georgia |
9 | Taiwan (Taipei) (AS) - แยกมาจาก China |
10 | Transnistria (Tiraspol) (EU) - แยกมาจาก Moldova |
* วงเล็บแรกหลังชื่อประเทศคือ "เมืองหลวง" วงเล็บต่อมาคือ "ทวีปที่ตั้ง" โดย
NA = North America, SA = South America,
EU = Europe, AF = Africa, AS = Asia, AU = Australia, AN = Antarctic
** ประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติมีทั้งหมด 192 ประเทศ คือประเทศที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการทุกประเทศ ยกเว้นเพียงประเทศเดียวคือ Vatican Cit
ทวีปเอเชีย
[แก้]ทวีปยุโรป
[แก้]ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
[แก้]ทวีปแอฟริกา
[แก้]ทวีปอเมริกาเหนือ
หมายเหตุ: ทวีปอเมริกาเหนือในที่นี้ได้รวมถึงกลุ่มประเทศในแถบทะเลแคริบเบียนไว้ด้วย
[แก้]ทวีปอเมริกาใต้
[แก้]ธงของรัฐที่ไม่ได้รับการยอมรับหรือได้รับการยอมรับอธิปไตยในบางส่วน
แหล่งข้อมูล
http://anouchemistry.blogspot.com
http://th.wikipedia.org/wiki
http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1622402
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น